Page 106 - BookHISTORYFULL.indb
P. 106

ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย

                  �
                 ตานาน เป็นเร่องราวท่มาจากการจดจาและเล่าสืบต่อกันมาเป็นเวลานาน
                                                 �
                                    ี
                             ื
          หลายช่วคน ก่อนท่จะได้มีการเรียบเรียงเป็นลายลักษณ์อักษร ตานานจึงมักรวมนิยาย
                         ี
                                                             �
               ั
                            ิ
                                     ื
                              ี
          นิทาน คติชาวบ้านและส่งท่คิดและเช่อว่าเป็นข้อเท็จจริงหลายช่วงเวลาเข้าไป อาจกล่าวว่า
                                                                  �
           �
                                                           �
                                        ี
                                                          ี
                                                    �
          ตานานเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่เก่าแก่เช่นกัน ตานานท่สาคัญคือตานานของเมือง
              �
                                                  �
                              ื
                                                                          �
          เช่น ตานานพิงควงศ์ เป็นเร่องราวของนครเชียงใหม่ ตานานเมืองหริภุญไชย ของเมืองลาพูน
                                                   ื
          ตานานหิรัญนครและตานานสิงหนวัติกุมาร เป็นเร่องของการต้งถ่นฐานของคนไทย
                                                             ั
                                                               ิ
                            �
           �
          ในบริเวณลุ่มน�้ากก  พงศาวดารนครศรีธรรมราช ในตอนต้นของภาคใต้  รวมทั้ง  นิทาน
          เรื่องท้าวฮุ่ง  ท้าวเจือง  ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ก็นับเป็นต�านานเช่นกัน
                              ั
                     �
                                     ั
                           ี
                                        ุ
                           ่
                                                                         �
                 สวนตานานเกยวกบปชนยวตถ  และปชนยสถานทางพระพทธศาสนา เชน  ตานาน
                                                            ุ
                                                                      ่
                                   ี
                                               ี
                                             ู
                  ่
                                 ู
                                           �
                        �
          พระแก้วมรกต ตานานพระธาตุช่อแฮ ตานานพระธาตุจอมทอง  ตานานพระธาต       ุ
                                                                  �
          นครศรีธรรมราช  ต�านานพระธาตุนครพนม แม้ “พงศาวดารโยนก”  ของพระยาประชากิจ
          กรจักร  (แช่ม  บุนนาค)  ก็จัดเป็นต�านานเช่นกัน  เพราะเรียบเรียงจากต�านานพื้นเมือง
                                             ี
                                                        ิ
                                          ื
          ในภาคเหนือ แม้ว่าตานานส่วนใหญ่มีเร่องท่เป็นอิทธิฤทธ์ปาฏิหาริย์ แต่มีข้อเท็จจริง
                          �
                                                                  ื
          ทางประวัติศาสตร์แฝงอยู่  การใช้ตานานเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นเร่องค่อนข้างยาก
                                   �
          ผู้สอนประวัติศาสตร์พึงระมัดระวังอย่างยิ่ง
                                                               ี
                                                               ่
                 จดหมายเหตชาวต่างชาต เป็นหลกฐานทางประวตศาสตร์ทมคณค่ายง ตงแต่
                                                       ั
                                                        ิ
                                                                       ิ
                                                                          ้
                                                                          ั
                                                                 ี
                                                                  ุ
                                                                       ่
                                    ิ
                                           ั
                           ุ
                                     ี
                      ี
           ุ
          พทธศตวรรษท่ ๘ ชาวต่างชาติท่เป็นพ่อค้าและนักเดินทางได้สืบค้นสภาพบ้านเมือง
          ในดินแดนท่ตนเดินทางมาถึง เช่น รายงานของนักภูมิศาสตร์ชาวกรีก ช่อ พโทเลมี ทูตชาวจีน
                                                              ื
                   ี
          พ่อค้าชาวอาหรับและเปอร์เซียและชาวตะวันตกในราวพุทธศตวรรษท่ ๒๑ เป็นต้นมา
                                                                ี
          ท้งโปรตุเกส  ฮอลันดา อังกฤษ ฝร่งเศส  โดยเฉพาะรายงานของการค้าของบริษัท
           ั
                                       ั
          ชาวตะวันออก  จดหมายเหตุเหล่าน้ หลายเล่มได้ถูกแปลเป็นภาษาไทยแล้ว ผู้สอนประวัติศาสตร์
                                   ี
          ควรสะสมไว้เป็นเคร่องมือสาหรับจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
                        ื
                              �
                 พงศาวดาร หมายถึง การบันทึกเร่องราวในอดีตภายใต้การอุปถัมภ์ของผู้ปกครอง
                                          ื
          ส่วนใหญ่เป็นพงศาวดารแบบพุทธศาสนาลังกาวงศ์เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์
           ี
          ท่มีลักษณะการเขียน  โดยอาศัยประวัติพระพุทธศาสนาเป็นแกนเร่อง  ย้อนไปถึงสมัย
                                                              ื
          ก่อนพุทธกาลที่ส�าคัญ เช่น หนังสือมูลศาสนา(ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๑) ชินกาลมาลีปกรณ์
          เป็นต้น
                 นอกจากนี้ ยังมีพงศาวดารท้องถิ่น และประเทศเพื่อนบ้าน  เช่น พงศาวดารเมือง
          นครเชียงใหม่  พงศาวดารเมืองพัทลุง พงศาวดารเมืองสงขลา พงศาวดารเขมร เป็นต้น

   104
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111