Page 109 - BookHISTORYFULL.indb
P. 109
อย่างไรและท�าไม) แล้วตรวจสอบกับข้อสนเทศกับหลักฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราว
ี
�
ท่เราศึกษาว่าสอดคล้องกันหรือแตกต่างกันหรือไม่ และทาไมจึงสอดคล้อง ทาไมจึงแตกต่าง
�
ที่ส�าคัญ คือ เราไม่ได้สนใจปริมาณของความเหมือนหรือความต่างในข้อสนเทศ
และเชื่อตามจ�านวนที่มากกว่า แต่ถือเป็นบทบาทส�าคัญที่จะสืบค้นว่า ท�าไมจึงมีข้อสนเทศที่
แตกต่าง ซึ่งเมื่อตอบค�าถามได้ย่อมท�าให้เราเข้าใจหลักฐานได้อย่างแท้จริง
การตรวจสอบข้อมูลของข้นตอนน้ นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะพิจารณาใน
ี
ั
หลักฐานแต่ละช้นอย่างละเอียดแล้วแยกแยะข้อมูลบันทึกเรียงตามลาดับเวลาหรือลาดับ
�
ิ
�
้
ู
ั
เหตการณ์ตามเวลา (time line) เพอสะดวกต่อการตรวจสอบ จากนนจะแยกแยะข้อมล
ุ
่
ื
ตามประเด็นเนื้อหา เพื่อให้รู้ว่าหลักฐานแต่ละชิ้นให้รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องอะไรอย่างใด
ใบจุ้มหรือพระราชโองการสมัยพระเจ้าโพธ ิ
สาละราช ลงศักราช ๙๐๔(จุลศักราช) หรือ พ.ศ.๒๐๘๕
ี
มีข้อความท่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่าในสมัยน้น
ั
เวียงจันทน์ (ในอดีตเรียกว่าจันทบุรี) ได้กลายเป็นเมือง
�
สาคัญของอาณาจักรล้านช้างเเล้ว พระเจ้าโพธิสาละราช
ี
ั
็
็
่
ั
ี
ื
ื
ี
้
เองกได้เสดจลงมาประทบทเมองเวยงจนทน์น จนเมอง
เวียงจันทน์กลายเป็นศูนย์กลางทางการปกครอง เเม้จะ
ยังไม่มีการย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมา
เวียงจันทน์อย่างเป็นทางการก็ตามที เเต่หลังจากน้น
ั
พระเจ้าไชยเชษฐาธราช (โอรสพระเจ้าโพธิสาละราช)
ิ
จึงได้ย้ายเมืองหลวงของอาณาจักรล้านช้างมาอยู่ท ี ่
เวียงจันทน์ในปี พ.ศ.๒๑๐๓
ี
จากข้อความในใบจุ้มบรรทัดท่ ๑๐-๑๓
ความว่า "มาตรานึง ไพร่เเลกลอง (กอง) ข้อยเสโล หาก
ภาพ ใบจุ้มหรือพระราชโองการสมัยพระเจ้า ยังส้านเส็นอยู่ดอมท้าวพระยาเเสนหม่น พระสงฆ์เจ้าท ่ ี
ื
โพธิสาละราช ปี พ.ศ.๒๐๘๕ ใดก่ดี ให้จัดท่าวเอามาไว้ดังเก่า ผู้ใดหากว่าบ่ใช่ให้น�ามา
ิ
ั
ี
ี
้
�
พีจารณาในจันทบุรี ยังถูกหน้กินสินท่าน พันเงินใช้ ๓ คน ๓ ฮ้อยใช้ผู้นืง ลาน้นให้ท่าวเอาตงเส้ยง (ท้งส้น)"
ั
จากข้อความน้เเสดงให้เห็นว่านครจันทบุรี(เวียงจันทน์) ได้กลายมาเป็นศูนย์กลางของอาณาจักร
ี
ล้านช้างเเล้ว เพราะการพิจารณาความที่หาที่สิ้นสุดไม่ได้ มักเอาความนั้นมาพิจารณาที่เมืองหลวง
ใบจุ้มนี้ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดเเห่งชาติ กรุงเทพมหานคร ถือเป็นใบจุ้มที่มีอายุเก่าเเก่
มากที่สุดในบรรดาใบจุ้มที่มีอยู่ในหอสมุดของไทยกว่า ๖๐ ฉบับ
ี
ใบจุ้มดังกล่าวน้ สยามหรือไทยน่าจะนามาจากเวียงจันทน์ในคราวท่สยามยกทัพต ี
�
ี
�
กรุงเวียงจันทน์พร้อมนาพระเเก้วมรกตเเละพระบางมายังกรุงธนบุรีในปี พ.ศ. ๒๓๒๒ เอกสารสาคัญ
�
ของล้านช้างจ�านวนมากได้ถูกน�ามาด้วย ไม่ว่าจะเป็นใบจุ้ม ใบลาน คัมภีร์ทางพุทธศาสนา พระไตรปิฎก
หรือเเม้เเต่มหากาพย์เเห่งอุษาคเนย์อย่างท้าวฮุ่งท้าวเจืองด้วย
(ข้อมูลจาก Facebook: guy intrarasopa)
107