Page 113 - BookHISTORYFULL.indb
P. 113
เรื่องที่ ๔
โครงงานทางประวัติศาสตร์ : การพัฒนาคนให้งอกงามในทุกมิติ
การน�าเสนอบทความนี้มีแรงจูงใจมาจากการได้ศึกษาผลงานของนักเรียนและครู
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจากโครงงานวิทยาศาสตร์ดีเด่น “การแตกของฝักต้อยติ่ง” และ
ี
การย้อนพิจารณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ท่หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ก�าหนดตัวชี้วัด ส ๔.๑ (๒) ในช่วงชั้นที่ ๔ ว่า “สร้างองค์ความรู้ใหม่
ทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ” และสาระการเรียนรู้
แกนกลางในสาระนี้ ระบุชัดเจนว่า “ผลการศึกษาหรือโครงงานทางประวัติศาสตร์”
ขณะท่สาระวิทยาศาสตร์พัฒนาผู้เรียนทางด้านการจัดการเรียนรู้ “โครงงาน
ี
วิทยาศาสตร์” ประสบความส�าเร็จสามารถก้าวเข้าสู่เส้นชัย และรับรางวัล Grand Awards
ในงาน Intel International Science and Engineering Fair ปี ๒๐๐๖ ณ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา รวมทั้งการพัฒนาที่ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องสืบมาถึงปัจจุบัน
แต่โครงงานทางประวัติศาสตร์ ยังวนเวียนอยู่กับการศึกษาพัฒนาการของ
ิ
อาณาจักรไทยในช่วงเวลาต่างๆ และประวัติศาสตร์ท้องถ่นเน้น “ความเป็นมาในนัยของใคร
ื
ื
ั
อะไร ท่ไหน เม่อไร” รวมท้งเม่อวิเคราะห์ผลงานการประกวดหน่วยการเรียนรู้ของคร ู
ี
�
ี
ประวัติศาสตร์และศึกษานิเทศก์ท่ดาเนินต่อเน่องมา ๒ ปีการศึกษา จานวนกว่า ๓๕๐ หน่วย
ื
�
ิ
ื
ั
ิ
่
ู
ึ
ิ
ซงพบว่า วธการจดการเรยนร้ส่วนใหญ่ยงคงเป็นการอ่านใบความร้ หนงสออ่านเพมเตม
่
ี
ู
ั
ั
ี
(ที่ครูจัดท�าให้) และการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่ไม่มีเป้าหมายชัดเจน
111