Page 116 - BookHISTORYFULL.indb
P. 116

ี
                 โครงงานทางประวัติศาสตร์  จึงหมายถึง  กิจกรรมการเรียนรู้ท่เปิดโอกาสให้
                                                    ี
                                                       ื
                       ื
                                                 ื
          ผู้เรียนได้สืบค้นเร่องราวในอดีตในสังคมมนุษย์ในพ้นท่ใดพ้นท่หน่ง ช่วงเวลาใดช่วงหน่ง
                                                                             ึ
                                                          ี
                                                            ึ
          (มิติของเวลา) ตามความสนใจและตามศักยภาพตน โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
                      ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
                      ๑. ตั้งประเด็นศึกษา
                      ๒. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐาน

                      ๓. วิเคราะห์ตรวจสอบหลักฐาน
                      ๔. การตีความหลักฐาน
                      ๕. การประมวลสังเคราะห์ข้อมูล
                      ๖. การน�าเสนอผลการศึกษา




                 องค์ประกอบของโครงงานทางประวัติศาสตร์  ประกอบด้วย  ขอบเขตของสังคม
          มนุษย์ในพื้นที่ศึกษา ช่วงเวลาที่ก�าหนดชัดเจน ข้อมูลจากหลักฐานประเภทต่างๆ ที่มากพอ
          ในการวิเคราะห์ตีความและกระบวนการสืบค้นตรวจสอบความถูกต้องของข้อเท็จจริง

          ผลงานของการสืบค้นนี้ เราเรียกว่า องค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร ์
                             �
                     ั
                 โดยท่วไปการทาโครงงานไม่ว่าจะเป็นรายวิชาใดก็ตามจะเป็นกระบวนการศึกษา
                                      ี
                         ี
                                                    �
                                                                       ิ
          ค้นคว้าของผู้เรียนท่มีลักษณะเฉพาะท่แตกต่างจากการทารายงานหลายประการ เร่มต้นคือ
                      ี
          ประเด็นศึกษาท่ต้องการสืบค้น ต้องมาจากความสนใจของผู้เรียน (ไม่ใช่ของครู) ผู้เรียน
                                   ึ
                                                  ื
          ต้องคิดและเลือกประเด็นศึกษา (ซ่งจะพัฒนาเป็นหัวเร่องของโครงงาน) ด้วยตนเองว่าอยาก
          จะศึกษาเรื่องอะไร  ท�าไมถึงอยากศึกษา  (มีความส�าคัญอย่างไรต่อสังคม)
                                                            ี
                         ี
                                   ื
                 นอกจากน้ การสืบค้นเร่องราวอะไรก็ตามควรเป็นเร่องท่ใกล้ตัวผู้เรียน มีความ
                                                         ื
                                   ื
                                         ี
          อยากรู้อยากเห็นรากเหง้าของเร่องราวท่ใกล้ตัว เช่น นักเรียนเตรียมอุดมศึกษาสนใจ
                                               ึ
                                             ิ
                 ิ
          ฝักต้อยต่ง เพราะในบริเวณโรงเรียนมีต้นต้อยต่งข้นอยู่กระจัดกระจาย นักเรียนในโรงเรียน
                                                                  ี
                    ึ
                          �
          มัธยมแห่งหน่งของอาเภอศรีสัชนาลัยสนใจการทอผ้าของกลุ่มแม่บ้านท่ครอบครัวของ
          พวกเขาเป็นสมาชิก
                  ิ
                 ส่งหน่งท่ควรตระหนัก คือ “ความเหมาะสมกับระดับความรู้ความสามารถของ
                     ึ
                        ี
          ผู้เรียน”  เพราะโครงงานทางประวัติศาสตร์ไม่ใช่ “วิทยานิพนธ์ประวัติศาสตร์”  ของนักศึกษา
          ปริญญาโทท่จะต้องใช้ความสามารถในการใช้ภาษาโบราณหรือภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่งเศส
                   ี
                                                                          ั
          ในการศึกษาเอกสารชั้นต้น  ดังนั้น ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา จึงไม่ควรเลือกที่จะสืบค้น
                                                                           ิ
          เร่องราวท่ไกลตัว  เช่น  สังคมไทยในสมัยอยุธยา การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย  เพราะส่งท ี ่
                 ี
           ื
                                      ี
          จะสืบค้นได้จะเพียงรวบรวมข้อมูลท่มีผู้ศึกษาไว้ก่อนเท่าน้น ไม่น่าจะเป็นความรู้ใหม่
                                                        ั
   114
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121