Page 118 - BookHISTORYFULL.indb
P. 118

ความเชื่อที่แตกต่างกัน กล่าวโดยสรุป คือ โครงงานทางประวัติศาสตร์ คือ การน�าหลักการ

          และทฤษฎีที่เรียนรู้จาก “วิธีการทางประวัติศาสตร์ไปปฏิบัติจริง”
                 ขั้นตอนการท�าโครงงานประวัติศาสตร์
                                                          �
                 การทาโครงงานเป็นกิจกรรมต่อเน่องและมีกิจกรรมการดาเนินงาน “นอกห้องเรียน”
                                          ื
                     �
                      ี
                                                                  ั
                                                      ้
                         ั
                                                                      ุ
          ซงตองมการเตรยมตว  เตรยมเครืองมอ และเตรยมความพรอมอนๆ ตองปรบปรงเครองมอ
                                                          ื
                                                          ่
             ้
                ี
                                                              ้
                                             ี
                                                                         ่
                                      ื
                                                                            ื
                                                                         ื
                                   ่
                              ี
           ึ
           ่
              �
          แบบสารวจ แผนปฏิบัติการ ฯลฯ  ท่สาคัญต้องร่วมมือร่วมใจแก้ไขปัญหาต้งแต่เร่มต้นจนถึง
                                     ี
                                      �
                                                                 ั
                                                                      ิ
          ข้นสุดท้าย
           ั
                 ขั้นเตรียมการส�าหรับครู คือ การกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนให้ “สามารถคิด
          และเลือกประเด็นศึกษาได้ด้วยตนเอง”  เช่น การจัดให้มีการศึกษานอกสถานที่ จัดให้ชม
          ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์เรื่องที่เกี่ยวข้องกับชุมชน ท้องถิ่น สังคมไทย  ให้เข้าชมนิทรรศการ
                                                                     ื
                                               ี
                                                                   ี
          หรือจัดให้ผู้เช่ยวชาญด้านต่างๆ มาบรรยายเร่องท่นักเรียนมีความสนใจ ท้งน้ เพ่อให้ผู้เรียน
                                                                 ั
                                            ื
                    ี
          เกิดความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของชุมชน ท้องถิ่นตน หรือสังคมไทย เพราะ
          ประเด็นศึกษาควรเร่มจากความสงสัย อย่างไรก็ตาม ส่งท่สาคัญ คือ ผู้สอนควรระบุให้
                         ิ
                                                       ี
                                                    ิ
                                                        �
                                                            ี
                                                                       �
                         �
          ชัดเจนด้วยว่า การทาโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนท่ทุกคนจะต้องดาเนินการ
                                              �
                                                                  ึ
                                                ี
           ื
                      ี
          เพ่อให้ผ่าน “ตัวช้วัด”  และเกณฑ์การประเมินผล คาช้แจงดังกล่าว เป็นส่วนหน่งของการกระตุ้น
          ให้ผู้เรียนมีความตระหนักในความส�าคัญของการท�าโครงงานดังกล่าว
                          สรุปล�าดับขั้นตอนการท�าโครงงานได้  ดังนี้
                      บทบาทของครู                    บทบาทของนักเรียน
            ขั้นเตรียมการ                    ขั้นเตรียมการ
            ๑.๑ สร้างแรงจูงใจหรือกระตุ้นความสนใจของ  ๑.๑ คิด และเลือกประเด็นศึกษา
                  ผู้เรียน                   ๑.๒ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
            ๑.๒ แนะน�าวิธีการท�าโครงงาน
            ๑.๓ เสนอแนะแหล่งศึกษาค้นคว้า
            ขั้นวางแผนงาน                    ขั้นวางแผนงาน
            ๒.๑ แนะน�าการวางเค้าโครงย่อและการวางแผนงาน ๒.๑ ก�าหนดขอบข่ายหรือเค้าโครงเรื่องที่จะศึกษา
            ๒.๒ ให้ค�าปรึกษาดูความเป็นไปได้ของเค้าโครงของ ๒.๒ จัดท�าเค้าโครงงานน�าเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
                  โครงงาน
            ขั้นด�าเนินงาน                   ขั้นด�าเนินงาน
                                                                        ื
            ๓.๑ ติดตามความก้าวหน้าของการด�าเนินงาน  ๓.๑ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเร่องราว
            ๓.๒ ให้คาแนะนา  คาปรึกษา เสนอแนะอย่างใกล้ชิด       ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นศึกษา
                        �
                      �
                  �
            ๓.๓ ตรวจสอบความก้าวหน้าของการด�าเนินงาน  ๓.๒ สร้างเครื่องมือพร้อมการปรับปรุง
                                             ๓.๓ รวบรวมข้อมูลและบันทึกให้ครบถ้วน
                                             ๓.๔ ประมวลความรู้ที่ค้นพบ
   116
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123