Page 119 - BookHISTORYFULL.indb
P. 119
สามารถตอบค�าถามที่เกิดจากความสงสัยในประเด็นที่สืบค้นได้ว่า
ใคร ท�าอะไร ที่ไหนเมื่อไร มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ท�าไม และมีผลต่อสิ่งใดบ้าง
บทบาทของครู บทบาทของนักเรียน
ขั้นสรุปการด�าเนินการ ขั้นสรุปการด�าเนินการ
๔.๑ ตรวจสอบการเขียนรายงานให้ถูกต้อง ๔.๑ เขียนรายงาน
ตามหลักวิชาการ ๔.๒ ออกแบบการน�าเสนอโครงงาน
ขั้นประเมินผลงาน ขั้นประเมินผลงาน
ี
�
ู
่
๕.๑ ค้นหาจุดเด่น จุดด้อย นาเสนอผลงานได้หลายรปแบบตามทเหมาะสม
ื
�
๕.๒ ตรวจสอบปัญหาการท�างานที่ผ่านมาและ เช่น การเล่าเร่อง การสร้างสถานการณ์จาลอง
สรุปผลการด�าเนินงาน การสาธิต การจัดนิทรรศการ
ผู้ประเมินผลงาน คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการท�าโครงงาน ประกอบด้วย ผู้เรียนทุกคน
ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
ี
ข้นเตรียมการสาหรับนักเรียนไม่ง่ายนักท่จะเกิดความคิดท่จะสนใจได้ประเด็น
ี
ั
�
�
ี
ื
ิ
สืบค้นเร่องราวในอดีต คาถามท่ดีอาจช่วยให้นักเรียนคิดประเด็นศึกษาได้ อาจเร่มด้วย
การบอกเล่าเร่องราวของตนเองกับเพ่อนๆ “ชอบอะไร ถนัดอะไร สนใจอะไร เคยม ี
ื
ื
�
�
ประสบการณ์ด้านใดบ้าง” การสารวจความสนใจของตนเอง อาจนาไปสู่ประเด็นศึกษา
ื
�
ี
ื
“จะศึกษาเร่องอะไร ทาไมจึงศึกษาเร่องน้” หรือการอ่านจากหนังสือ เรียนรู้จากนอกสถานท ่ ี
ื
�
�
ี
ี
จะนาสู่ประเด็นสงสัยท่จะนาไปสู่ช่อโครงงานท่เฉพาะเจาะจงและชัดเจนท่เหมาะสมกับ
ี
�
ื
ความสามารถและระดับความรู้ของผู้เรียน หัวเร่องของโครงงานมักจะมาจากปัญหา คาถาม
หรือความอยากรู้อยากเห็นในประเด็นเรื่องต่างๆ
ั
ี
ี
ั
ี
ข้นตอนของการศึกษาเอกสารท่เก่ยวข้อง คือ ข้นตอนรวบรวมความรู้ท่เก่ยวข้อง
ี
กับเรื่องที่ศึกษาว่ามีใคร ท�าอะไร ที่ไหน อย่างไรแล้วบ้าง เป็นการตรวจสอบว่าประเด็นที่
ั
ี
ี
เราสนใจสืบค้นมีงานท่ใครเคยทามาก่อนหรือไม่ ส่วนใหญ่แล้วข้นตอนน้ คือ การตรวจสอบ
�
์
จากอินเทอรเน็ต สอบถามจากบุคคลที่เชื่อถือได้ ศึกษาจากต�าราและเอกสารทางวิชาการ
และการปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้เรียนจะต้องใช้ทักษะกระบวนการตรวจสอบประเมินค่าข้อมูลหลักฐานต้งแต่
ั
ื
ั
ื
ี
ี
ข้นตอนน้ เน่องจากข้อมูลและหลักฐานไม่ใช่จะให้ “ความจริง” ท่ถูกต้อง และเช่อถือได้
ท้งหมด ครูจึงต้องทบทวนวิธีการทาโครงงานและข้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ให้
�
ั
ั
แก่ผู้เรียนก่อนเริ่มท�าโครงงาน
117