Page 115 - BookHISTORYFULL.indb
P. 115
�
�
ป.๖ : อธิบายความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ (อย่างง่ายๆ) และนา
ี
เสนอข้อมูลจากหลักฐานท่หลากหลายในการทาความเข้าใจเร่องราวในอดีต
�
ื
�
ม.๑ : นาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(สุโขทัย)
ิ
ั
ื
ม.๒ : ประเมินความน่าเชื่อถอของหลกฐาน วเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
ความเป็นจริงกับข้อเท็จจริงและเห็นความสาคัญของการตีความหลักฐาน
�
ทางประวัติศาสตร์ (อยุธยากับธนบุรี)
ม.๓ : ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์เหตุการณ์ส�าคัญ (รัตนโกสินทร์)
และในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ที่ตนสนใจ
ม.๔-๖: สร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ (ผลการศึกษา
หรือโครงงานทางประวัติศาสตร์)
ี
โครงงานทางการศึกษาเป็นรูปแบบหน่งของการจัดการเรียนรู้ท่เน้นผู้เรียนม ี
ึ
�
�
ความสาคัญท่สุด โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง มีกระบวนการทางานและทางาน
ี
�
�
ื
�
ร่วมกับผู้อ่นได้ ครูมีบทบาทเป็นผู้ให้คาปรึกษา และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยนา
ึ
ื
ความรู้จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ มาบูรณาการ เพ่อสร้างสรรค์ผลงานข้น แม้ว่า
โครงงานมีหลายประเภท แต่โครงงานทางประวัติศาสตร์เป็นลักษณะของการ ศึกษาสืบค้น
ส�ารวจ และรวบรวมข้อมูลได้เพียงประเภทเดียวเท่านั้น
โครงงานประวัติศาสตร์ คืออะไร และส�าคัญไฉน
โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะในการ
ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการอื่นใดที่ใช้ในการศึกษาหาค�าตอบ
ั
�
ในเร่องน้นๆ โดยมีผู้สอนเป็นผู้กระตุ้น แนะนาให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนในกระบวนการทางาน
ื
�
�
�
�
ทุกข้นตอน ต้งแต่การเลือกหัวข้อเร่องท่จะทาการศึกษา ค้นคว้า วางแผนการดาเนินงาน
ั
ี
ื
ั
กาหนดข้นตอนการทางาน สารวจรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์
ั
�
�
�
ของข้อมูล และออกแบบน�าเสนอผลงาน โดยทั่วไป การท�าโครงงานสามารถท�าได้ทุกระดับ
ิ
ึ
การศึกษาทุกกลุ่มประสบการณ์ ทุกรายวิชา ซ่งอาจทาเป็นบุคคลหรือรายกลุ่มก็ได้ เร่ม
�
ตั้งแต่โครงงานเล็กๆ ที่เป็นเรื่องใกล้ตัว จนถึงโครงงานใหญ่ๆ ที่ซับซ้อนมากขึ้น ต้องใช้
ึ
ั
ความรู้ความสามารถหลายด้าน รวมท้งมีผู้เช่ยวชาญให้คาแนะนา ซ่งต้องใช้ความรู้ วิธีการ
ี
�
�
ึ
และทักษะกระบวนการหลายๆ อย่างประกอบกัน จึงจะได้ผลการศึกษาจากโครงงาน ซ่งนับ
เป็นความรู้ใหม่ของผู้ศึกษา
เนื่องจาก ประวัติศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเหตุการณ์ส�าคัญในอดีตของสังคม
ี
มนุษย์ท่เปล่ยนแปลงไปตามเวลาและส่งแวดล้อมโดยการสอบสวนร่องรอยหลักฐาน
ิ
ี
ที่หลงเหลืออยู่อย่างเป็นระบบที่เรียกว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์
113