Page 111 - BookHISTORYFULL.indb
P. 111

๒. ผู้เขียนหรือผู้สร้าง พิจารณาว่า มีความรู้ ความช�านาญและมีความเกี่ยวข้อง
                     กับเรื่องราวนั้น โดยตรง ย่อมได้รับความน่าเชื่อถือมากกว่า  แต่อย่างไรก็ตามต้องวิเคราะห์

                     ด้วยว่า ผู้สร้างหลักฐานต้องการที่จะรายงานความจริงหรือไม่  อาจเนื่องจากการพิทักษ์ผล
                                                  ี
                     ประโยชนของฝายตน หรอไมสามารถทจะรายงานความจรง  ซงอาจสงผลกระทบตอตนเอง
                                ่
                            ์
                                           ่
                                        ื
                                                                    ึ
                                                                    ่
                                                                                   ่
                                                                         ่
                                                                 ิ
                                                  ่
                     จึงต้องปิดบังหรือบิดเบือน ข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์
                            ๓. จุดมุ่งหมายของการสร้างหลักฐาน  ส่วนใหญ่หลักฐานท่มุ่งให้มีผู้ศึกษา
                                                                             ี
                                      ื
                     มากเท่าใด ความน่าเช่อถือย่อมลดลง ในทางกลับกันถ้ามิได้มุ่งหวังให้ใครศึกษาหรือลด
                     ผู้อยากให้รู้เรื่องนั้น น้อยลงเพียงใด  ก็ยิ่งน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น
                                                                     ี
                            อย่างไรก็ตามผู้ใช้หลักฐานพึงระมัดระวังข้อสนเทศท่เต็มไปด้วยข้อความท่เป็น
                                                                                      ี
                     วรรณศิลป์ (เพื่อสร้างอารมณ์จับใจ) การคุยโวโอ้อวด  การพรรณนาอารมณ์ ซึ่งมีผลต่อ
                     การประเมินคุณค่าของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทั้งสิ้น
                            กระบวนการตรวจสอบประเมินค่าหลักฐาน





                    การวิพากย์ภายนอก                         การวิพากย์ภายใน




                    - ใครท�า
                    - มีฐานะเกี่ยวของกับ                                     แยกแยะข้อเท็จจริง
                      เหตุการณ์นั้น อย่างไร               ข้อมูล              จากความคิดเห็น
                    - จุดประสงค์การท�า คืออะไร         บอกอะไรบ้าง            และข้อสันนิษฐาน
                    - สร้างขึ้นเมื่อไร ในบริบท

                      อย่างไร
                    - รูปแบบเดิม หรือการคัดลอก
                                                     ตรวจสอบกับข้อมูล
                                                      จากหลักฐานอื่น



                                                                    การตีความข้อมูล
                                                                   บนพื้นฐานข้อเท็จจริง


                            แผนภูมิ กระบวนการตรวจสอบประเมินค่าหลักฐาน



                                                                                           109
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116