Page 114 - BookHISTORYFULL.indb
P. 114

ี
                 แม้ว่าโครงงานจะเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง
          ให้งอกงามในทุกมิติตามศักยภาพ และความสนใจ แต่พบว่า ครูประวัติศาสตร์ยังคง
                               ื
                                                                        ี
          แสดงความห่วงใยในข้อมูลเน้อหามากกว่าทักษะ กระบวนการและการสร้างเจตคติท่ถูกต้อง
          ต่อความเป็นไทย วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย ส่วนศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบ
                            ู
                       ็
              ั
                                                 ิ
                                                                   ี
          ประวติศาสตร์ กยังคงผกมัดตวเองกับกรอบแนวคดทางการศึกษา ทฤษฎ และรูปแบบ
                                 ั
          ที่ตายตัว  ขณะที่บริบทของสังคมในแต่ละพื้นที่  แตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมและเวลา
          ซ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของประวัติศาสตร์  จึงเห็นว่าผู้สอนประวัติศาสตร์น่าจะย้อนกลับ
           ึ
          มาพิจารณาการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในโครงงานประวัติศาสตร์ให้ชัดเจนเสียก่อน
                          ี
                    ี
                    ่
                  ั
                         ิ
                 อนทจรง วธการทางประวตศาสตร นน หลกสตรกาหนดใหฝกทกษะกระบวนการ
                      ิ
                                                      �
                                                   ู
                                                 ั
                                                                 ั
                                                              ึ
                                                             ้
                                     ิ
                                           ์
                                            ้
                                            ั
                                    ั
                          ั
                                                        ั
                                                            ั
          สืบค้นเรื่องราวตามข้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ต้งแต่ช้น ป.๑ (สอบถามและ
                                ื
              ื
                                      ั
          เล่าเร่อง) และฝึกฝนต่อเน่องทุกช้นปีจนถึงช้น ม.๓ “ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
                                               ั
          ในการศึกษาเร่องราวต่างๆ ท่ตนสนใจ” และ ม.๔-๖ ท่ให้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
                     ื
                                                      ี
                                 ี
          สร้างองค์ความรู้ใหม่ในโครงงานทางประวัติศาสตร์
                                              ั
                 อันท่จริง วิธีการทางประวัติศาสตร์น้น แต่เดิมผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ในระดับ
                    ี
                   ึ
                                  ั
          ปริญญาโทข้นไป โดยจะใช้ทุกข้นตอนเป็นกระบวนการหลักในการสืบค้นเร่องราวในอดีต
                                                                   ื
                                                                            ู
          ทตนเองต้องตงประเดนศกษา “อะไร” ทไหน ช่วงเวลาใด” โดยส่วนใหญ่เน้นอย่ท  ่ ี
                                           ี
                                           ่
           ี
                     ั
                           ็
                     ้
                              ึ
           ่
          การวิเคราะห์เอกสารท่เก่ยวข้องกับเร่องท่จะศึกษาให้ครอบคลุมครบถ้วน ส่วนหลักฐานอ่นๆ
                          ี
                                        ี
                                     ื
                            ี
                                                                           ื
           ั
                                                  ู
                                   ื
          น้น มักใช้เป็นสาระประกอบเพ่อตรวจสอบความถกต้องของเอกสาร เช่น หลักฐาน
          ทางศิลปกรรม พิธีกรรม สถานที่จริง การสัมภาษณ์บุคคล เป็นต้น
                  �
                 สาหรับการเรียนรู้ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในปัจจุบันวิธีการ
          ทางประวัติศาสตร์ได้เป็น “ทักษะกระบวนการ” หนึ่งในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เช่นเดียว
          กับทักษะในการคิดวิเคราะห์ การสรุป การตีความและทักษะอื่นๆ ที่หลักสูตรการศึกษาขั้น
                                                               ื
          พ้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช
                                                            ั
           ื
          ๒๕๕๑ ได้ก�าหนดการเรียนรู้ของผู้เรียนในทุกชั้นปีต่อเนื่องจนจบหลักสูตร โดยแต่ละชั้นปี
          จะได้ฝึกฝนทักษะแต่ละขั้นตอน (ไม่ใช่ทุกขั้นตอน) ดังนี้
                 ป.๑  :  สอบถามและเล่าเรื่องประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัว
                                   ี
                                                                            ึ
                                  ี
                                                                        ี
                                                            �
                 ป.๒ :   ใชหลักฐานท่เก่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว  ลาดับเหตุการณ์ท่เกิดข้น
                          ้
                                                                          �
                 ป.๓ :    ระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลเก่ยวกับโรงเรียนและชุมชน และลาดับ
                                                 ี
                        เหตุการณ์ส�าคัญที่เกิดขึ้น
                 ป.๔ :    แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถิ่น
                 ป.๕ :   สืบค้นความเป็นมาของท้องถ่นโดยใช้หลักฐานท่หลากหลาย รวบรวม
                                                             ี
                                              ิ
                        ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ  และแยกแยะความแตกต่างระหว่างความจริงกับ
                        ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
   112
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119