Page 117 - BookHISTORYFULL.indb
P. 117
ี
ื
ท่น่าสนใจอะไร (ยกเว้นกรณีท่ผู้เรียนมีคุณสมบัติพิเศษ เช่น ครอบครัวเป็นเช้อสายท ี ่
ี
ี
ื
สืบทอดจากโปรตุเกส สามารถอ่านภาษาโปรตุเกสได้ สามารถท่จะสืบค้นเร่องราวของ
ี
ครอบครัวตนเองท่ใกล้ตัวออกไปได้) อย่างไรก็ตาม โครงงานทางประวัติศาสตร์ควรเร่มจาก
ิ
ิ
�
ี
ี
�
ส่งท่ใกล้ตัว จากเร่องท่ผู้เรียนสงสัยอยากรู้ เพราะจะทาให้เกิดแรงจูงใจให้อยากทาต่อไป
ื
�
ประการท่สอง การทาโครงงานต้องใช้เวลา และต้องทุ่มเทความเพียรพยายาม
ี
ื
ั
ื
ี
ความอดทน อดกล้น ซ่งอาจต้องมีค่าใช้จ่าย จึงเป็นไปไม่ได้ท่ผู้เรียนจะสืบค้นเร่องใดเร่องหน่ง
ึ
ึ
ภายในเวลาสั้นๆ ส่วนใหญ่มักใช้เวลาประมาณ ๑ ภาคเรียน (ซึ่งจะแตกต่างจากรายงาน
ี
ท่จะเป็นการรวบรวมข้อมูลท่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว) ในกรณีดังกล่าวน้ ผู้สอนจึงมีบทบาทสาคัญ
ี
ี
�
ในด้านการกระตุก กระตุ้นให้ก�าลังใจและก�ากับติดตามอย่างต่อเนื่อง
ประการท่สาม จานวนกลุ่มคนท่ร่วมมือกันทาโครงงานต้องไม่มากเกินไป
�
ี
�
ี
และต้องมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เพ่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขและร่วมมือร่วมใจ
ื
ท�าโครงงานจนส�าเร็จเรียกว่า สามารถ “หลอมได้เป็นหนึ่งเดียว” ก็ได้
โดยทั่วไป การสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ที่ใกล้ตัวที่ผู้ศึกษาสนใจใคร่รู้ อาจเริ่มด้วย
ื
ื
ื
การอยากรู้เร่องของตนเองและครอบครัว เร่อง เช่น ประเด็นศึกษาเร่อง ประวัติความเป็นมา
�
ของครอบครัวข้าพเจ้า อาชีพ ครัวเรือนของข้าพเจ้า เป็นต้น สาหรับประเด็นสืบค้นดังกล่าว
ข้อมูลและหลักฐานก็จะได้อยู่ใกล้ตัวเด็ก เช่น รูปภาพ ข้อมูลจากการซักถามพ่อ แม่ ญาติ
สนิท เครื่องมือ เครื่องใช้เป็นต้น
ี
ิ
ิ
เร่องราวในชุมชนหรือท้องถ่นก็เป็นส่งท่สืบค้นด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
ื
เช่น ประเด็นศึกษาเร่อง ขนบธรรมเนียมประเพณี การละเล่นในชุมชน ความเป็นมาของช่อถนน
ื
ื
ช่อสถานท่สาคัญ ข้อมูลและหลักฐานก็ยังเป็นส่งท่ใกล้ตัว เช่น ลักษณะภูมิประเทศ การสอบถาม
ี
ิ
ี
�
ื
ผู้เฒ่าผู้แก่ หรือ ผู้รู้ในชุมชนอ่านจากบันทึก จดหมาย รวมทั้ง แหล่งความรู้ในชุมชนหรือ
ในท้องถิ่น
ี
ข้อส�าคัญ คือ โครงงานทางประวัติศาสตร์ มักเป็นเร่องเก่ยวกับสังคมมนุษย์ในอดีต
ื
ึ
ี
ื
ี
ื
ี
ึ
ในพ้นท่ใดพ้นท่หน่ง ซ่งมีการเปล่ยนแปลงตามมิติของเวลา ผู้ศึกษาต้องสืบค้นให้ชัดเจน
ี
ี
�
ี
ื
ั
�
�
ได้ว่าประเด็นท่ศึกษาน้น (โดยพยายามหาคาตอบในคาถามท่ว่า) มีใครทาอะไร ท่ไหน เม่อไร
เป็นอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงหรือวิวัฒนาการไปอย่างไร ท�าไมจึงเกิดการเปลี่ยนแปลง
และมีผลอย่างไรบ้าง
โครงงานทางประวัติศาสตร์เป็นกิจกรรมที่ต้องท�าอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มต้นจน
กระท่งส้นสุดโครงการ จึงเป็นการฝึกฝนทักษะท่จาเป็นการดารงชีวิต เช่น ทักษะการคิด
ั
ิ
�
ี
�
ื
�
�
วิเคราะห์ การใช้คาถาม การอ่าน การสังเกต การสารวจพ้นท่จริง ได้ฝึกฝนคุณธรรม
ี
ในการด�าเนินชีวิต เช่น ความอดทน มารยาท และมนุษย์สัมพันธ์ ความซื่อสัตย์ นอกจากนี้
ิ
ั
ยงฝึกฝนความเป็นกลาง ความไม่มีอคตต่อความแตกต่างทางวฒนธรรม ความคิด
ั
115