Page 110 - BookHISTORYFULL.indb
P. 110
การตีความ เป็นขั้นตอนส�าคัญของการวิพากษ์ภายใน ซึ่งเกิดจากการพิจารณา
ิ
ื
ั
้
่
็
�
็
ิ
ข้อสนเทศว่าบอกข้อเทจจริงอะไรบ้าง นาข้อเทจจรงประมวลเพออธบายเหตุการณ์นนๆ
ั
ี
ว่าเป็นอย่างไร ปัจจัยท่ทาให้เกิดเหตุการณ์คืออะไร และเหตุการณ์น้นส่งผลต่ออะไรบ้าง
�
ั
การตีความจะช่วยให้เกิดความเข้าใจเหตุการณ์น้นอย่างแท้จริง ข้อเท็จจริงจากหลักฐาน
ประกอบด้วย
่
๑. ความหมายตามตัวอักษรอย่างตรงไปตรงมา ซงแน่นอนเราต้องทา
�
ึ
ความเข้าใจในส�านวนภาษาที่ใช้ในหลักฐานนั้นให้ชัดเจน เพื่อให้เข้าใจความหมายที่ผู้สร้าง
ต้องการบอก
๒. ความหมายท่แท้จริง ซ่งเป็นความหมายตามเจตนารมณ์ของผู้สร้างหลักฐาน
ี
ึ
ที่แฝงอยู่ด้วย ทั้งนี้เพราะมนุษย์ซึ่งเป็นผู้สร้างนั้น ย่อมมีค่านิยม ความคิดความเชื่อทาง
ศาสนา บริบททางการเมือง เศรษฐกิจเป็นสิ่งแวดล้อมรอบตัวของผู้สร้าง ซึ่งจะแฝงมากับ
ข้อสนเทศในหลักฐานนั้นด้วย ผู้ที่สืบค้นอดีตที่มีประสบการณ์และได้รับการฝึกฝนทักษะ
มาดี จะสามารถเข้าใจข้อนิเทศดังกล่าวนี้ได้มากกว่าผู้ที่ไม่ได้ฝึกฝน
ั
ื
ื
อาจสรุปได้ว่า การตีความ คือ ความพยายามอธิบายเร่องราวโดยต้งอยู่บนพ้นฐาน
ของข้อเท็จจริง หรือข้อสนเทศที่ปรากฏในหลักฐานนั้น ซึ่งจะแตกต่างข้อสันนิษฐานที่อาจ
เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้ศึกษาอดีต
ั
การประเมนคณค่าของข้อสนเทศ น้น ย่อมมาจากการวิพากษ์ภายนอก และ
ุ
ิ
การวิพากษ์ภายใน อย่างไรก็ตามผู้ศึกษาอดีต ย่อมต้องเข้าใจด้วยว่า ความคลาดเคลื่อน
ของข้อสนเทศเกิดจากมนุษย์เป็นผู้สร้างหลักฐาน ซึ่งอาจเกิดด้วยเจตนา หรือไม่เจตนาก็ได้
แต่อย่างไรก็ตามการวิพากษ์ดังกล่าว จะทาให้เราเข้าใจว่าหลักฐานทุกช้นแม้ว่าจะ
�
ิ
มีความคลาดเคลื่อนจากความจริง ตามล�าดับ ดังนี้ คือ ความจริง-อคติ-ความไม่รู้จริง –
ั
การบิดเบือน – ความเทจ แต่ท้งหมดน้ก็คือ ประโยชน์ในการศึกษาประวัติศาสตร์อยู่น่นเอง
็
ี
ั
ดังนั้น เราควรพิจารณาไตร่ตรอง ท�าความเข้าใจวินิจฉัยความหมายที่แท้จริงของหลักฐาน
นั้นๆ และใช้อย่างมีเหตุผล
หลักการวิพากษ์ข้อสนเทศเพื่อการประเมินคุณค่าของหลักฐาน
ื
๑. ช่วงเวลาของการสร้างหลักฐาน นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่มีความเช่อว่า
ยิ่งใกล้เหตุการณ์เพียงใดยิ่งเก็บทัศนะของผู้สร้างหลักฐานไว้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นหลักฐาน
ที่สร้างขึ้นภายหลังเหตุการณ์ไม่นาน หรือใกล้เหตุการณ์มากเพียงใด ยิ่งได้รับความน่าเชื่อ
ถือมากขึ้น ในท�านองตรงกันข้ามหลักฐานที่สร้างขึ้นภายหลังเหตุการณ์เพียงใด อาจให้
ี
ึ
ื
ี
ข้อสนเทศท่คลาดเคล่อนได้ ซ่งอาจเกิดจากความหลงลืมหรือเกิดจากความพยายามท่จะ
แก้ตัว จึงมีอคติปนอยู่ด้วย
108