Page 108 - BookHISTORYFULL.indb
P. 108
ี
ท่สนใจอยากรู้ ส่งแรก คือ การรวบรวมข้อสนเทศหรือข้อเท็จจริงจากหลักฐานต่างๆ ท ่ ี
ิ
เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม เมื่อพบหลักฐานก็ไม่ได้หมายความว่า ข้อสนเทศในหลักฐานที่พบ
คือ ความจริงในอดีต ซึ่งนักประวัติศาสตร์ชอบค่อนแคะและเสียดสีผู้สืบค้นอดีตมือสมัคร
เล่นว่า มักจะเชื่อตามข้อมูลทุกอย่างที่ขวางหน้า โดยไม่มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน
กระบวนการในการตรวจสอบประเมินคุณค่าของหลกฐาน ถือเป็นเอกลักษณ์
ั
เฉพาะของประวัติศาสตร์ จึงได้รับการกล่าวขานว่าเป็น “ศาสตร์ของการรวบรวม แยกแยะ
ื
ึ
วิเคราะห์ วิพากษ์และการใช้ข้อมูลสนเทศเพ่อค้นหาข้อเท็จจริงในสังคมมนุษย์” ซ่ง
ความพิถีพิถันในการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้น มาจากแนวคิดที่ว่า หลักฐานทุกชิ้น
ไม่แน่ว่าจะบอกความจริงเสมอไป ไม่ว่าจะเป็นผู้ร่วมในเหตุการณ์ เอกสารชั้นต้น เอกสาร
ชั้นรองก็อาจใช้ข้อเท็จจริงที่คลาดเคลื่อนได้เช่นกัน
การตรวจสอบหลักฐานหรือเรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ มี ๒ ระดับ
คือ การตรวจสอบภายนอกหรือการวิพากษ์ภายนอก และการตรวจสอบข้อสนเทศ
ในหลักฐาน เรียกว่า การตรวจสอบภายในหรือการวิพากษ์ภายใน
การวิพากษ์ภายนอก คือ การตรวจสอบหลักฐานทางประวัติศาสตร์โดยมีจุดมุ่ง
หมาย เพื่อให้รู้จักหลักฐานนั้น ประกอบด้วยการสืบค้นหรือความพยายามตอบค�าถามว่า
๑. หลักฐานนั้นใครท�าขึ้น
๒. ผู้จัดท�าหลักฐานมีบทบาท และฐานะอย่างไรในการสร้างหลักฐานนั้นขึ้น
๓. หลักฐานนั้นสร้างขึ้นด้วยจุดประสงค์อะไร
๔. อายุของหลักฐานนั้น สร้างขึ้นเมื่อไร
๕. สภาพแวดล้อมที่หลักฐานนั้นท�าขึ้นเป็นอย่างไร
๖. หลักฐานนั้นอยู่ในรูปเดิมหรือไม่ หรือมีการคัดลอกเพิ่มเติมลอกเลียนขึ้น
ี
การท่ผู้ศึกษาอดีตต้องตรวจสอบหลักฐาน ถือเป็นส่งจาเป็นเพราะจะช่วยให้ใช้
�
ิ
หลักฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพช่วยในการประเมินประเมินความน่าเช่อถือในข้อสนเทศ
ื
ที่อยู่ในหลักฐานนั้นๆ และช่วยให้เราตีความหลักฐานได้ชัดเจนขึ้น
การวิพากษ์ภายใน คือ การวิพากษ์ข้อสนเทศ หรือข้อเท็จจริงในตัวหลักฐานว่า
มีความน่าเช่อถือ (ความจริง) หรือน่าสงสัยท่อาจจะเป็นเท็จ ท้งหลักฐานลายลักษณ์
ั
ี
ื
็
ี
ั
่
และหลักฐานทไม่ใช่ลายลกษณ์ เช่น หลกฐานทางโบราณคด กอาจให้ข้อสนเทศแก่
ี
ั
ผู้สืบค้นอดีตได้
การวิพากษ์ภายใน คือ การวินิจฉัยข้อเท็จจริงในหลักฐานด้วยการรวบรวมข้อมูล
ื
ี
�
ท่เป็นข้อสนเทศในหลักฐานน้นๆ ว่า หลักฐานน้นบ่งบอกอะไรบ้าง (ใคร ทาอะไร ท่ไหน เม่อไร
ี
ั
ั
106