Page 105 - BookHISTORYFULL.indb
P. 105
ั
ั
จะเห็นว่าหลักฐานช้นต้นและหลักฐาน ช้นรองปะปนรวมอยู่ในเอกสารช้นเดียวกัน
ั
ี
ั
ึ
ี
ได้เสมอ แม้หลักฐานท่เขียนข้นร่วมสมัยกับเหตุการณ์ท่ได้บันทึกไว้ ก็อาจไม่ใช่หลักฐานช้น
ี
ึ
ต้น เพราะผู้บันทึกไม่ได้เก่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง แต่ฟังผู้อ่นเล่ามาอีกทีหน่งในกรณ ี
ื
ั
ท่หลักฐานช้นเดียวกันเป็นท้งหลักฐานช้นต้นและหลักฐานช้นรอง ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์
ั
ิ
ี
ั
ื
�
อธิบายว่า เช่น พระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ เร่อง ไทยรบพม่า
�
จัดเป็นหลักฐานช้นรอง เพราะสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ มิได้เกี่ยวข้องโดยตรง
ั
ี
อย่างใดกับสงครามระหว่างไทยกับพม่าทุกคร้ง แต่ข้อสนเทศเก่ยวกับความคิดของชนช้น
ั
ั
ปกครอง ในครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ที่เกี่ยวกับพม่าถือเป็นหลักฐานชั้นต้น
ื
ในการสืบค้นเร่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ส่วนใหญ่ ผู้สืบค้นทางประวัติศาสตร์
ให้ความสนใจ “เอกสาร” มากกว่าหลักฐานประเภทอื่นๆ ที่จะน�ามาใช้ประกอบการสืบค้น
ื
และเป็นยอมรับว่า ดินแดนในประเทศไทยก้าวเข้าไปสู่ยุคประวัติศาสตร์ เม่ออารยธรรม
อินเดียได้มีอิทธิพลต่ออาณาจักรที่ตั้งอยู่ในดินแดนไทย ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๒
ี
�
ี
ทาให้เกิดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่เก่าแก่ท่สุด คือ “ศิลาจารึก” ซ่งพบในอาณาจักร
ึ
โบราณของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาจเพราะความเชื่อหรือความคงทนของวัตถุ
ี
ี
(นอกจากน้ยังพบท่ฐานพระพุทธรูปตามปูชนียสถาน ปูชนยวัตถุ) ข้อความท่ปรากฏในศิลา
ี
ี
็
จารึกมีหลายลักษณะ สวนใหญเปนความเชื่อทางศาสนา และการประกาศบุญ แตจารึกบาง
่
่
่
หลักมีเรื่องราวส�าคัญอื่นๆ เกี่ยวข้องกับการเมือง เศรษฐกิจและสังคม เช่น จารึกสุโขทัย
ี
หลักท่ ๓๘ เป็นการประกาศกฎหมายของอยุธยาในดินแดนสุโขทัย จารึกศรีสองรัก
ที่จังหวัดเลย เป็นประกาศความเป็นพันธมิตร ระหว่างอาณาจักรอยุธยาและล้านช้าง จารึก
ี
�
ท่พบในประเทศไทยมีเป็นจานวนมากและหลายยุคสมัย ท้งก่อนสุโขทัย สุโขทัย อยุธยา
ั
ี
ึ
และรัตนโกสินทร์ ซ่งกรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่ ผู้สอนประวัติศาสตร์ ควรท่จะศึกษา
และน�าเข้าสู่บทเรียนประวัติศาสตร์ในชั้นเรียน
ภาพ จารึกวัดพระธาตุศรีสองรัก จังหวัดเลย
เปนจารึกท่แสดงสัมพันธไมตรีฉันท์มิตรประเทศ
็
ี
ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงศรีสัตนาคนหุต
(ล้านช้าง)
103