Page 134 - BookHISTORYFULL.indb
P. 134

ี
                           ี
          ภาพ ท้องพระโรงพระท่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาทและภาพวาดท่ยังเป็นข้อสันนิษฐานว่า
          ที่นี่เคยเป็นที่รับรองคณะราชทูตจากประเทศฝรั่งเศส
                                                                          ี
                 ".... คณะทูตฝร่งเศส มาถึงสยามเม่อ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๒๒๘ และในวันท่ ๑๘
                                          ื
                            ั
          ตุลาคม พ.ศ. ๒๒๒๘ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการต้อนรับ
          โดยเชอวาเลียร์ เดอ โชมองต์ ราชทูตอัญเชิญพระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ มาถวายแก่
          สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ตามบันทึกของบาทหลวงตาชารด์
          ระบุว่า
                 .....พระเจ้าแผ่นดินสยาม ประทับ ณ สีหบัญชร ที่สูงมาก การจะยื่นพระราชสาสน์ถวาย
          ให้ถึงพระองค์ท่านน้น จาเป็นต้องจับคันพานท่ปลายด้ามและชูแขนข้นสูงมาก ซ่งเม่อพิจารณา
                                           ี
                        ั
                                                                      ื
                           �
                                                           ึ
                                                                   ึ
          เห็นว่าการถวายพระราชสาสน์ในระยะห่างมากน้น เป็นการไม่สมเกียรติ โดยควรท่จะถวายให้ใกล้
                                                                   ี
                                           ั
          พระองค์มากที่สุด ราชทูตจึงจับพานที่ตอนบนและยื่นขึ้นไปเพียงครึ่งแขนแค่นั้น พระเจ้าแผ่นดิน
                                                                   ึ
                                                        ั
                                                   �
          สยามทรงทราบความประสงค์ว่าเหตุใดราชทูตจึงกระทาเช่นน้น จึงทรงลุกข้นยืนพร้อมกับ
                                                     ื
          แย้มพระสรวลและทรงก้มพระองค์ออกมานอกสีหบัญชร เพ่อรับพระราชสาสน์ตรงก่งกลางทาง
                                                                      ึ
          แล้วทรงน�าพระราชสาสน์นั้น จบเหนือเศียรเกล้า อันเป็นการถวายพระเกียรติให้เป็นพิเศษ...."
                                                                  ั
                                             ื
                          ี
                                                              ั
                 ข้อมูลเหล่าน้ นักเรียนเองได้เรียนรู้ว่า เร่องราวในประวัติศาสตร์น้น มีท้ง “ข้อจริง” และ
          “ข้อเท็จ” ปะปนกันไปหมดและเร่มตระหนักอย่างท่อาจารย์ทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวไว้ว่า
                                                ี
                                   ิ
          “ประวัติศาสตร์จริงเจ็ดส่วนเท็จสามส่วน”
                 ๒. สัมภาษณ์บุคคลเกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างในพระนารายณ์ราชนิเวศน์การสัมภาษณ์
                                                           ี
                                                        ั
                                                                             ่
          บคคลต่างเกยวกบสงก่อสร้างในพระนารายณ์ราชนเวศน์  นกเรยนพบว่าข้อมลส่วนหนง
                   ่
                      ั
                   ี
                         ่
                         ิ
                                                                     ู
           ุ
                                                 ิ
                                                                             ึ
                                                               ็
                                                                 ึ
                                                   ุ
                    ั
                                                            ั
                                                            ้
          กสอดคล้องกบข้อมูลจากการศกษาเอกสาร เพราะบคลลเหล่านน กศกษาจากเอกสาร
           ็
                                  ึ
                                                               ื
                                           ี
          มาด้วยเช่นกัน อาจจะมีแตกต่างไปบ้างตรงท่มีเกร็ดประวัติศาสตร์หรือเร่องเล่าแทรกมาบ้าง
                   ี
          เช่น คราวท่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชประชวรและประทับอยู่ท่พระทนังสุทธาสวรรค์
                                                                 ่
                                                                   ่
                                                             ี
                                                                 ี
          เขตพระราชฐานชั้นใน ระหว่างนั้นพระเพทราชา ขุนหลวงสรศักดิ์ และขุนนางได้ประชุมกัน
   132
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139