Page 130 - BookHISTORYFULL.indb
P. 130

�
                 นักเรียนหลายๆ คนอยากรู้คาตอบท้งหมด แต่ครูแนะนาว่า “ถ้าต้องการเรียนรู้
                                             ั
                                       �
                                                               ี
          เร่องต่างๆ อย่างละเอียด เราควรเลือกศึกษาจากประเด็นคาถามท่เราสนใจมากท่สุด
                                                                           ี
                                                         �
           ื
          มีความเป็นไปได้ที่จะหาค�าตอบได้ไม่ยากนัก”
                                                                      ิ
                 นักเรียนกลุ่ม “เด็กอยากรู้” เสนอว่า “กลุ่มหนูอยากรู้เก่ยวกับ “ส่งก่อสร้าง
                                                              ี
          ในพระนารายณ์ราชนิเวศน์มีอะไรบ้างและใช้ประโยชน์ได้อย่างไร”
                 ครเห็นความสนใจใฝ่รู้ของนักเรียนดังกล่าว จึงได้ศึกษาสาระสาคัญจากเอกสาร
                                                                 �
                   ู
                                    ื
                                                               ี
          หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระท่ ๔ ประวัติศาสตร์
                                 ั
          ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
                                       ี
                         ี
                                   ี
                 มาตรฐานท่ ส ๔.๑  ตัวช้วัดท่ ๑ “สืบค้นความเป็นมาของท้องถ่นโดยใช้หลักฐานท ี ่
                                                                ิ
                                                 ี
          หลากหลาย” เน้นการจดการเรียนรให้นักเรียนเข้าใจเก่ยวกับท้องถ่นของตนเอง เน้นให้นักเรียน
                          ั
                                   ู้
                                                         ิ
                        ิ
                                             �
                                            ี
          ภาคภูมิใจในท้องถ่นของตนเอง ให้รู้จักสถานท่สาคัญและความสาคัญของสถานท่น้นๆ
                                                         �
                                                                     ี
                                                                       ั
                 มาตรฐานที่ ส ๔.๑ ตัวชี้วัดที่ ๒ “รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบค�าถาม
          ทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล” เป็นการให้นักเรียนได้ฝึกการต้งคาถามทางประวัติศาสตร์
                                                          ั
                                                            �
          และน�าค�าถามนั้นๆ ไปสืบค้นหาค�าตอบด้วยตนเอง
                                     ้
                                     ี
                                   ั
                                        ี
                          ี
                                        ่
                 มาตรฐานท่ ส ๔.๓ ตวชวดท ๓ “อธบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับ
                                               ิ
                                      ั
                                       ิ
          ข้อเท็จจริงเก่ยวกับเร่องราวในท้องถ่น” เป็นการฝึกให้นักเรียนได้รู้จักและใช้ข้อมูล
                    ี
                           ื
          ที่สืบค้นมาได้ เป็นการฝึกฝนวิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นที่ ๓ อย่างง่ายๆ ซึ่งเป็นขั้นต้น
          ของการวิเคราะห์ ตรวจสอบ และประเมินค่าข้อมูล กล่าวคือให้นักเรียนได้ตระหนัก เรียนรู้
                                                        ึ
                              ี
          และเตือนตนเองว่าทุกส่งท่ได้อ่าน ได้ฟัง จากผู้ใดใครผู้หน่ง จากการอ่านหนังสือหรือ
                            ิ
          จากการสืบค้นจากอินเทอร์เน็ตนั้น เรียกว่าเป็น “ข้อเท็จริง” กล่าวคือมีทั้งข้อเท็จ ข้อจริง
          และความคิดเห็น ข้อสันนิษฐาน ค�าโกหก ค�าหลอกลวง อาจด้วยเจตนาหรือไม่เจตนาปะปน
          รวมกันอยู่ ซึ่งในข้อเท็จจริงนั้น ย่อมมี “ความจริง” รวมอยู่ด้วย
                         ี
                 นอกจากน้คุณครูยังต้องพิจารณาส่งท่นักเรียนได้เรียนรู้ในวิชาประวัติศาสตร์
                                            ิ
                                               ี
                                                                ื
                               ี
                 ั
             ั
          มาต้งแต่ช้นประถมศึกษาปีท่ ๔ ด้วย กล่าวคือ นักเรียนต้องได้เรียนเร่อง “การแยกแยะ
          หลักฐานท่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถ่น”  โดยแยกเป็นหลักฐานช้นต้น หลักฐาน
                                              ิ
                  ี
                                                                   ั
           ั
                                                              ิ
          ช้นรอง ตัวอย่างหลักฐานท่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของท้องถ่นของตนและเกณฑ์
                               ี
              �
          การจาแนกหลักฐานท่พบในท้องถ่น เป็นหลักฐานช้นต้นและหลักฐานช้นรองอย่างง่ายๆ
                                                                 ั
                                                  ั
                          ี
                                    ิ
                                                                        ั
                                   ้
                                                            ่
                         ุ
                                   ั
                                 �
          คณครได้สอบถามคณครประจาชนประถมศึกษาปีท ๔ ว่าในปีทผ่านมาได้สอนนกเรยน
                             ู
                                                  ี
               ู
                                                                           ี
                                                            ี
           ุ
                                                  ่
                         �
                                                                          �
          อย่างไรบ้าง ก็ได้คาตอบว่า นักเรียนได้เรียนการแยกแยะหลักฐานจากจารึกประจาวัด
                    �
                                                        �
                                                           ี
                              ี
          และเอกสารตานานต่างๆ ท่ชาวบ้านเคยเขียนไว้จากความทรงจาเก่ยวกับการสร้างบ้านเรือน
                                                        ์
          ของชุมชนที่ตั้งโรงเรียน  ซึ่งครูได้ลองตรวจสอบประสบการณหรือความรู้เดิมของนักเรียน
   128
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135