Page 133 - BookHISTORYFULL.indb
P. 133
ิ
ส่งท่ครูต้องเตือนตัวเองในช่วงเวลาน้คือ ครูอย่างตึงเครียดกับคาตอบท่ได้มากนัก
ี
�
ี
ี
ิ
ั
ี
แต่สนใจท่ปัญหาหรือความสนใจใคร่รู้ของนักเรียนในการสืบค้นมากกว่า เพราะส่งเหล่าน้น
ั
ี
เป็นการฝึกฝนให้นกเรียนได้มีประสบการณ์ ได้เผชญสถานการณ์ท่อาจท้งมีความสาเร็จ
�
ั
ิ
�
ึ
�
ิ
หรือความผิดพลาดบ้าง ซ่งว่าไปแล้วคาตอบก็ยังไม่ใช่ส่งจาเป็นนักสาหรับเด็กในช่วงวัยน ้ ี
�
จึงไม่จ�าเป็นต้องสมบูรณ์หรือถูกต้องไปเสียทั้งหมด
ั
การเรียนการสอนในช่วโมงน้จึงเป็นการให้กาลังใจ นาปัญหามาพูดคุยกัน
�
ี
�
ึ
พิจารณาร่วมกันว่านักเรียนแต่ละคนมีวิธีการแก้ไขปัญหากันอย่างไรบ้าง ซ่งครูก็ย่อมเข้าใจ
ดีว่าปัญหาหน่งก็ย่อมมีวิธีแก้แตกต่างกันไป วิธีการเดิมแต่สถานการณ์ใหม่ก็อาจไม่ประสบ
ึ
ความสาร็จเหมือนเดิมก็ได้ เพราะจุดสาคัญตรงน้ครูก็ต้องให้เด็กได้เรียนรู้ว่า เวลาเปล่ยนไป
ี
�
�
ี
ี
้
เปล่ยนสถานท่ เปล่ยนสถานการณ์ กล่าวคือไม่มีอะไรซากันได้ในประวัติศาสตร์ ตามสานวน
�
ี
ี
�
ที่ว่า “ประวัติศาสตร์ไม่ซ�้ารอย”
ครูตั้งเป้าเพียงว่านักเรียนจะเป็นผู้ที่ตั้งค�าถามได้ ซึ่งก็ไม่จ�าเป็นต้องสมบูรณ์แบบ
การต้งคาถามท่ดียากกว่าการหาคาตอบให้ตรงประเด็น ดังน้นครูก็อาจให้นักเรียน
ั
�
�
ี
ั
ตั้งค�าถามอะไรมา ครูก็ตั้งค�าถามกลับ เป็นเช่นนี้อยู่หลายครั้ง เพื่อข้อค�าถามเหล่านั้น ให้มี
ี
ี
�
�
ความแหลมคมมากข้น เป็นกระบวนการท่เรียกว่า “การเหลาคาถาม” คาถามท่ดีๆ ก็จะเป็น
ึ
ี
�
ตัวจุดไฟใฝ่รู้ให้นักเรียนอยากไปสืบเสาะหาคาตอบ แต่คาถามท่ดีและเหมาะสมกับวัย
�
�
ึ
�
ของนักเรียนก็จะช่วยให้สืบค้นหาข้อมูลได้ง่ายข้น เพราะบางคาถามก็อาจคาตอบไม่ได้เลย
หรือหาได้ยาก
สัปดาห์ถัดมา ช่วโมงวิชาประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาสาหรับนักเรียนสรุปการเรียนร ู้
�
ั
ที่ได้กระบวนการสืบค้นที่หลากหลาย ได้แก่
ี
ึ
ี
๑. การศึกษาเอกสารท่เก่ยวกับกับพระนารายณ์ราชนิเวศน์ ซ่งส่วนใหญ่เป็นข้อมูล
ั
ี
จากแบบเรียน หนังสือและเอกสารแผ่นพับ นักเรียนพบว่าเอกสารช้นต้นท่เป็นเร่องราว
ื
ื
ี
ี
เก่ยวกับอยุธยาโดยเฉพาะเร่องท่สัมพันธ์กับพระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์มีน้อยมาก
หรือหากมีอยู่บ้าง ก็น่าจะเป็นบันทึกจากเอกสารชาวต่างประเทศท่กล่าวถึงแผ่นดิน
ี
ี
ึ
พระนารายณ์มหาราช ซ่งพ้นวิสัยของนักเรียนระดับประถมศึกษาท่จะไปสืบค้นได้
หรือเสาะหาเอกสารเหล่านั้นมาศึกษาได้
ั
ี
แม้กระท่งเร่องของ “พระท่น่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท” ท่มีภาพวาดและ
ี
ื
ั
เรื่องเล่าว่าสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสด็จฯ ประทับ ณ พระสีหบัญชร ในท้องพระโรง
ึ
พระท่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท ออกรับคณะราชทูต ซ่งไม่ได้มีการจดบันทึกไว้
ี
และยังไม่พบหลักฐานอื่นใด ทั้งหมดยังคงเป็นเพียงการเปรียบเทียบจากบันทึกเหตุการณ์
ี
ี
และภาพวาดท่คณะทูตฝร่งเศส อัญเชิญพระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ท่ ๑๔ เดินทาง
ั
มาเข้าเฝ้าฯ ถวายแด่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ณ พระราชวังกรุงศรีอยุธยา ดังนี้
131