Page 151 - BookHISTORYFULL.indb
P. 151

ั
                             ี
                                    �
                                                                               ั
                                                                 �
                     ครูมีหน้าท่ช่วยต้งคาถามและชวนให้นักเรียนพิจารณาว่าคาถามของตนเองน้นจะสามารถ
                                                                             �
                     สืบค้นได้เพียงใด ในพิพิธภัณฑ์จะมีข้อมูลหลักฐานเพียงพอท่ค้นคว้าหาทาตอบได้หรือไม่
                                                                    ี
                             ี
                     นักเรียนท่มีความสนใจคล้าย ๆ กันก็ให้รวมกลุ่มเพ่อได้รวมกนทางาน ประเด็นค�าถามท ี ่
                                                                     ั
                                                             ื
                                                                       �
                     นักเรียนสนใจมีดังนี้
                                  พัฒนาการลักษณะของคูน�้าคันดิน และประโยชน์การใช้สอย
                                  หลวงพ่อโอดกับการเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้านในเขตเมืองจันเสน
                                  พัฒนาการของเครื่องมือการจับสัตว์น�้า
                                  สิ่งของที่ขุดค้นพบในแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นวิถีชีวิต
                     ของผู้คนยุคนั้นอย่างไรบ้าง
                                            ี
                            ๓. การสรุปความรู้ท่ได้รับ นักเรียนได้มีโอกาสในรวบรวมความรู้จากหลากหลาย
                           ั
                                                           �
                     แหล่ง ท้งจากการฟังการบรรยายของวิทยากรประจาพิพิธภัณฑ์จันเสน ข้อมูลจากการศึกษา
                                  ั
                             ิ
                                                                                      ึ
                                                                  ี
                                                                   �
                     ค้นคว้าเพ่มเติมท้งจากเอกสาร และอินเทอร์เน็ต ข้อมูลท่สาคัญมากอีกประการหน่งคือ
                                            ี
                                                                         ี
                                         ื
                     นักเรียนได้การศึกษาในเร่องท่ตนเองสนใจเป็นพิเศษ  มีท้งเป็นการเด่ยวหรือกลุ่มย่อยตาม
                                                                ั
                                ึ
                                          ี
                                                                    ี
                     ความสนใจ ซ่งการศึกษาน้ช่วยให้นักเรียนได้รวบรวมข้อมูลท่หลากหลาย ได้มีโอกาสได้
                     ลองการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวอย่างง่ายๆ ตลอดจนได้ใช้ข้อมูล
                     อย่างหลากหลายในการท�าความเข้าใจเรื่องราวในอดีต
                            นอกจากนักเรียนได้ฝึกกระบวนการประมวลข้อมูลต่างๆ แล้ว เอกสารสรุป
                                                   ั
                     ความรู้น้ ยังช่วยให้นักเรียนเกิดความม่นใจในการเตรียมการเป็นยุวมัคคุเทศก์มากย่งข้น
                                                                                      ิ
                                                                                        ึ
                            ี
                     นักเรียนได้ค้นพบว่าข้อมูลต่างๆ มีการเปลี่ยนแปลงได้ถ้ามีการตีความใหม่ หรือเมื่อมีการ
                            ั
                                                                        ู
                                                                                ึ
                                                                                     ั
                                                       �
                                                                ื
                                                     ้
                                                     ั
                                  ้
                     ค้นพบหลกฐานชนใหม่  การฝึกในการตงคาถามและเช่อมโยงข้อมลต่างๆ จงเป็นทกษะ
                                  ิ
                                                     ั
                     ท่สาคัญ การเป็นยุวมัคคุเทศก์ก็อาจลองต้งคาถามหรือเช้อเชิญให้ศึกษาเพ่มเติม โดยไม่
                                                        �
                                                                 ื
                       �
                      ี
                                                                              ิ
                                       �
                      �
                     จาเป็นต้องให้คาตอบสาเร็จรูปเสมอไป การตอบไม่ได้จึงไม่ใช่เร่องของการ “เสียหน้า”
                                 �
                                                                       ื
                     แต่อย่างใด
                                                                  �
                            ข้อมูลหลายอย่างก็สร้างแรงบันดาลใจให้สืบค้นหาคาตอบต่อไป บางเร่องการทาให้
                                                                                ื
                                                                                      �
                     เกิดความภาคภูมิใจในวิธีการคิดและภูมิปัญญาของผู้คนในยุคสมัยนั้น ได้แก่
                                                                                       ้
                                                                                       ี
                                                                     ั
                                                                              ี
                                    ้
                                    �
                                      ั
                            การขดคนาคนดนซงเป็นแบบแผนของเมองโบราณสมยทวาราวด นอกจากนยง    ั
                                ุ
                                   ู
                                           ่
                                                           ื
                                        ิ
                                           ึ
                                                                    ี
                            ้
                            �
                                                  �
                              ี
                     พบสระนาท่ชาวบ้านเรียกว่า “บุ่งยายคา” และ “คันคูหนุมาน” ท่เป็นภูมิปัญญาในการบังคับ
                     น�้าเข้ามาใช้ จากหลัก,ฐานที่พบได้แก่ ภาชนะดินเผา ก็แสดงให้เห็นว่ามีการตั้งถิ่นฐานอยู่ใน
                     บริเวณนี้สืบเนื่องกันมาหลายยุคหลายสมัย

                                                                                           149
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156