Page 152 - BookHISTORYFULL.indb
P. 152

เรื่องราวของ “หวีงาช้าง” ที่ค้นพบในแหล่งโบราณคดีจันเสน พบว่า หวีนอกจาก

          ใช้ในการจัดแต่งทรงผมแล้ว หวียังเป็นเครื่องประดับ จากหลักฐานที่ค้นพบในบ้านเราอายุ
          ไม่น้อยกว่า ๑,๕๐๐ ปี ลวดลายของหวีในอดีตยังมีความหมายน่าสนใจ


















                 ภาพ หวีงาช้างอายุ ๑,๕๐๐ ปี    ภาพ ลายเส้น ลวดลายมงคลบนหวีงาช้าง

                 หวีสับจากงาช้างที่ซี่หวียาวไม่ถึง ๕ มิลลิเมตร ที่มีอายุกว่า ๑,๕๐๐ ปี ขุดพบที่
          ต�าบลจันเสน จังหวัดนครสวรรค์ มีลวดลายมงคล ๘ สัญลักษณ์ความอุดมสมบูรณ์ และ

          พลังอ�านาจ รวมทั้งวัสดุจากงาช้าง เชื่อว่าเป็นเครื่องใช้ของชนชั้นสูง เป็นหลักฐานแสดงถึง
          การจัดแต่งทรงผมด้วยหวีที่มีมาแต่อดีต ไม่เพียงทรงผมที่บอกค่านิยม และชนชั้น แต่การ
                                            �
          ใช้หวียังบอกถึงกลุ่มคนแตกต่างหญิงในราชสานักจะใช้หวียี และแปรงเพ่อการเกล้าผมให้
                                                                 ื
          สวยงาม แตกต่างจากคนทั่วไปที่ใช้หวีเสนียดเพื่อการดูแลสุขภาพหนังศีรษะ ก�าจัดเหา และ
          ตัดผมสั้นเพื่อให้ดูแลง่าย
                 ในอดีต หวีท�าขึ้นจากวัสดุตามธรรมชาติ เช่น ไม้ หรือกระดูกสัตว์ การค้นพบหวี
                                                    ี
                ึ
          งาช้าง ซ่งถือว่าเป็นวัสดุท่มีค่า ประกอบกับมีการแกะลายท่งดงามนั้น แสดงถึงการเป็นของใช้
                            ี
                                                                           ี
                    ั
          ของกลุ่มคนช้นสูง เป็นหลักฐานว่าเมืองจันเสนเป็นเมืองใหญ่มาก มีระบบของสังคมท่ซับ
          ซ้อน มีการแบ่งกลุ่มคนด้วยข้าวของเครื่องใช้ที่แสดงถึงล�าดับและสถานะของผู้คน
                                ึ
                         ั
                        ้
                                     ิ
                                                             ่
                                                             ื
                                                       ิ
                                               ั
                                                  ู
                        ี
                  ั
                 วตถชนนยงแสดงถงการตดต่อค้าขายกบผ้คนในดนแดนอนๆ ด้วย เพราะอาจ
                    ุ
                     ิ
                     ้
                                                                      ี
                                                                     ี
                                                    ิ
          ติดตัวคนท่เข้ามาติดต่อค้าขายในพ้นท่ของเมืองจันเสน ย่งนักเรียนได้เห็นแผนท่ท่อธิบายว่า
                  ี
                                   ื
                                      ี
           ื
                                                                           ื
                                                                         ี
          พ้นท่ราบลุ่มภาคกลางเคยเป็นทะเลมาก่อน และเมืองจันเสนในอดีตก็เคยเป็นเมืองท่เช่อม
             ี
                                 ี
                                          ิ
                               ื
                                                                          �
                                            ้
          โยงระหว่างชายฝั่งทะเลกับพ้นท่ตอนใน ก็ย่งยาให้เห็นว่าในอดีตเมืองจันเสนเป็นเมืองสาคัญ
                                            �
          ที่อุดมสมบูรณ์มาก

   150
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157