Page 187 - BookHISTORYFULL.indb
P. 187
ี
ชุมชน และมาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจพัฒนาการความเป็นมาของชุมชนในฐานะท่เป็นส่วน
ึ
�
ึ
ี
หน่งของชาติไทย ผลงานท่สร้างข้นช่วยให้คนในชุมชนเกิดสานึกในประวัติศาสตร์ร่วมกัน
ี
ของเหตุการณ์สาคัญ รวมท้งตระหนักในบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริย์ท่มีต่อราษฎร
ั
�
ี
สอดคล้องกับพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ท่ต้องการให้
นักเรียนได้เข้าใจประวัติความเป็นมาของชาติของตนเอง การเริ่มเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของ
�
ชุมชนตนเองและพัฒนาสู่การศึกษาประวัติศาสตร์ชาติจะทาให้นักเรียนเข้าใจรากเหง้าของ
สังคมไทย จะช่วยปลูกฝังความรัก ความผูกพันระหว่างกันของคนในชาติได้เป็นอย่างดี การ
ั
สอนประวัติศาสตร์ชุมชนเปรียบเหมือนการนาต้นกล้ามาปลูก หม่นดูแลด้วยการจัดการ
�
ี
�
ี
เรียนรู้ท่เหมาะสมจะทาให้ต้นกล้าเติบโตเป็นไม้ใหญ่ท่มีรากแก้วแข็งแรง ไม่ไหวเอน โค่นล้ม
ได้ง่าย
�
ื
การจัดทาภาพยนตร์สารคดีประวัติศาสตร์เร่องพระบารมีปกเกล้าฯ ชาวบ้านโป่ง
ี
ี
ิ
ื
ส่งผลให้เกิดสานึกร่วมในพระมหากรุณาธิคุณท่เสด็จมาเย่ยมในคราวท่ส้นเน้อประดาตัว
�
ี
และความหมดหวังในชีวิต จึงช่วยปลูกฝังให้คนในอ�าเภอบ้านโป่งมิเพียงแต่เยาวชนเท่านั้น
ที่ตระหนักในคุณค่าของสถาบันพระมหากษัตริย์ ผ่านการน�าเสนอบางตอนของภาพยนตร์
ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บ�ารุง
ี
นอกจากน้การจัดการเรียนรู้ด้วยการทาภาพยนตร์สารคดีเป็นการเรียนรู้ท่ เน้น
ี
�
การแสวงหาความรู้อย่างเป็นกระบวนการ เกิดสมรรถนะส�าคัญ ๕ ประการสอดคล้องกับ
ความต้องการของหลักสูตรการศึกษา ข้นพ้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และแสดงให้เห็นการบูรณา
ื
ั
การรายวิชาต่างๆ เพื่อน�ามาใช้ในการเก็บข้อมูล โดยมีวิชาประวัติศาสตร์ชุมชนเป็นแกน ใช้
วิธีการเรียนรู้ทาง มานุษยวิทยา สังคมวิทยามาบูรณาการ รายวิชาอื่นๆ ที่น�ามาใช้ คือ วิชา
ภาษาไทย ใช้ในการสื่อสารระหว่างการเก็บข้อมูลและการเขียนบทภาพยนตร์ ความรู้เรื่อง
คอมพิวเตอร์ในการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้วิชาศิลปะในการถ่ายภาพ การเลือกดนตร ี
ประกอบเรื่อง การออกแบบโปสเตอร์ภาพยนตร์ การบูรณาการระหว่างวิชาจะปรับเปลี่ยน
ตามบริบทของภาพยนตร์สารคดีที่นักเรียนต้องการจะสร้าง
185