Page 30 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 30
เหลื่อมล�้าในระบบการศึกษาเสียก่อน
ึ
�
อีกประการหน่ง การศึกษาไทยไม่จาแนกเด็กในทางจิตวิทยา และ
ี
�
ไม่จาแนกเด็กตามพ้นเพของครอบครัว ตามโภชนาการและการเล้ยงด ู
ื
ี
ื
ู
ั
็
ี
เด็กยากจนส่วนใหญ่ จะว่าไปกเกอบท้งหมด ได้รับการเล้ยงดท่ไม่เหมาะสม
ได้กินอาหารท่ไม่มีคุณภาพ ฉะน้น “สมองของเด็กยากจน” จะไม่พัฒนาได้
ี
ั
ั
ื
ั
�
เท่า “สมองของชนช้นกลางและชนช้นนา” และเม่อไปเข้าระบบการศึกษา
ี
ั
ิ
ท่ไม่มีคุณภาพอีก ช่องว่างระหว่างเด็กจนกบเด็กรวยก็ย่งห่างออกไปกันใหญ ่
ี
�
ี
ท่มูลนิธิเด็ก เราทาเร่องน้กัน เรามีฝ่ายวิชาการของมูลนิธิเด็ก
ื
เชิญหมอ นักจิตวิทยา นักวิชาการด้านเด็ก จากมหาวิทยาลัยมหิดลและ
ที่อื่นๆ มาจ�าแนกเด็ก เชื่อไหมครับ เราพบเลยว่า เด็กของเราซึ่งทั้งหมดมา
จากครอบครัวยากจน มีพัฒนาการช้าและเป็นเด็กพิเศษถึง ๑๐๐ กว่าคน
ครึ่งหนึ่งของเด็กทั้งมูลนิธิเด็กนะครับ น่าตกใจมาก เราไม่เคยรู้เลยว่าเรามี
เด็กพิเศษเยอะขนาดน้ เด็กเหล่าน้ถ้าให้เรียนในช้นเรียนปกติ ไม่มีทางเรียน
ี
ี
ั
สู้เด็กอ่นได้เลย ต้องจัดการศึกษาพิเศษให้กับเขา ท่เหมาะกับพัฒนาการ
ี
ื
ของเขา เหมาะกับความเป็นเด็กพิเศษของเขา อันน้เป็นหัวใจเลยนะครับ
ี
ิ
ี
ี
เราต้องจัดการศึกษาท่เหมาะกับเด็กแต่ละคน เหมาะกับส่งท่เขาเป็น
�
ื
้
มิฉะน้นแม้แต่เด็กยากจนด้วยกัน ก็จะมีความเหล่อมลากัน เพราะฉะน้น
ั
ั
ี
ึ
ต้องรวมงานด้านการศึกษากับงานสาธารณสุขเข้าด้วยกัน ซ่งตอนน้งานท้ง
ั
๒ ส่วนนี้แยกกัน
ี
ื
�
้
ึ
อีกข้อเสนอหน่งท่ผมพูดบ่อยก็คือ การแก้ความเหล่อมลาใน
ื
�
การศึกษา ต้องทาเร่องสวัสดิการการศึกษา ผมพบว่าเด็กมีค่าใช้จ่ายด้าน
การศึกษาประมาณ ๓,๐๐๐ บาทต่อคนต่อเดือน รัฐควรจะจัดสวัสดิการ
เป็น “คูปองการศึกษา” (Education Voucher) ตรงไปท่ตัวเด็กเป็น
ี
ี
รายหัวเลยได้ไหม แทนท่จะจัดงบประมาณไปท่โรงเรียน จัดงบประมาณ
ี
30 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕