Page 28 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 28
�
เมืองไทยก็เลียนแบบมาจากอังกฤษ จะเห็นได้ว่า นายอาเภอ
ี
ผู้ว่าราชการจังหวัด ท่ไปปกครองประชาชน จะจบมาจากจุฬาฯ
ธรรมศาสตร์เสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งทั้ง ๒ มหาวิทยาลัยนี่เป็นสถาบันที่ฝึกคน
ไปปกครองคนอื่น
แล้วคนจนจะปลดแอกจากระบบการศึกษาได้อย่างไร คนจนต้อง
ี
ู
ู
�
ั
ึ
ั
ู
ร้ก่อน ว่าการส่งลกเข้าโรงเรยน ตนเองกาลงถกรฐใช้ระบบการศกษา
ล้างสมองให้ยอมจ�านนต่ออ�านาจรัฐและอ�านาจทุน ให้ยอมจ�านนต่อวิธีคิด
ของชนชั้นน�า ซึ่งเรื่องนี้ชนชั้นกลางก็ไม่เข้าใจ
ในโรงเรียน เด็กไม่กล้าเถียงกับครู เด็กถูกสอนให้ยอมจ�านนต่อครู
�
ึ
ื
�
เม่อโตข้นก็ยอมจานนต่อรัฐ ครูเป็นตัวแทนของอานาจ รัฐต้องการให้คนจน
ยอมจ�านน โดยเริ่มต้นจากให้เด็กยอมจ�านนต่อครูก่อน
ื
ึ
ผมยกตัวอย่าง เวลาประชาชนลุกข้นต่อสู้ เพ่อปกป้องสิทธิของตน
ชนชั้นน�ามักจะมองการต่อสู้ของประชาชนว่าเป็นการก่อความวุ่นวาย คน
ี
ช้นกลางในเมืองก็คิดแบบน้นะครับ รัฐบาลมักมองการเคล่อนไหวของ
ั
ื
่
่
ประชาชนวามีเบื้องหลังอะไรหรือเปลา แทนที่จะมองวา การมาชุมนุมของ
่
�
ประชาชน เขามีปัญหาอะไร เพราะเขาคิดว่า เม่อคุณถูกทาให้ยอมจานน
ื
�
แล้ว ให้เชื่องแล้ว คุณจะลุกขึ้นมาสู้ท�าไม นี่เป็นความคิดของชนชั้นน�าไทย
ไม่ใช่แต่รัฐนะครับ ชาวบ้านส่วนใหญ่ก็คิดมากเหมือนกัน เวลาจะ
ออกมาเคลื่อนไหว ทั้งๆ ที่การเคลื่อนไหวของเขา เป็นการปกป้องสิทธิของ
�
เขา ปกป้องสิทธิของชุมชนของเขา เป็นการบอกให้รัฐรู้ว่ารัฐกาลังสร้าง
ี
่
ปัญหาให้พวกเขา และรฐต้องแก้ไข เป็นหน้าทรฐทต้องแก้ปัญหา แต่
ั
ี
ั
่
ู
�
ั
พวกเขาจะวิตกกงวล เพราะพวกเขาถกสอนมาตลอดให้ “ยอมจานนต่อ
อ�านาจรัฐ ให้เป็นผู้อาศัย” ไม่ใช่เจ้าของประเทศ
ี
�
้
เห็นไหมครับว่า การศึกษาไทยเป็นตัวสร้างความเหล่อมลาท่สาคัญ
�
ื
28 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕