Page 25 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 25
ี
ื
ี
กับวัด นายทุนใหญ่มากว้านซ้อท่ดิน ชาวบ้านถูกบังคับให้ขายท่ แล้วอพยพ
ื
ี
ี
�
้
ไปอยู่ท่อ่น ทัศนียภาพท่สวยงามริมฝั่งแม่นาเจ้าพระยา เสียหายหมด ชุมชน
ิ
ู
และหน่วยงานรัฐไม่สามารถต้านทานได้ เพราะตกอย่ใต้อทธพลนายทน
ิ
ุ
นักการเมือง
้
�
ื
ื
ี
แต่เร่องความเหล่อมลาน้ ไม่ได้มีแค่เฉพาะประเทศไทย ตอนน ี ้
�
ี
เป็นเร่องระดับโลก นักคิดสาคัญในโลกยุคน้ เห็นเป็นปัญหาสาคัญ มีหนังสือ
�
ื
ตีพิมพ์ออกมาหลายเล่ม มีแปลเป็นภาษาไทยด้วย ลองไปหาอ่านกันดูนะ
ครับ
ี
็
ี
�
ประเทศท่รารวยกมีปัญหาน้เหมือนกัน ท่อเมริกาเคยมการ
ี
่
ี
ประท้วงชื่อ Occupy Wall Street ประชาชนอเมริกันจ�านวนหนึ่งออกมา
เดินขบวนประท้วง เขาตั้งค�าถามกับรัฐบาลว่า ท�าไมคนเพียงหยิบมือเดียว
ี
ั
ถึงครอบครองความม่งค่งส่วนใหญ่ ในขณะท่คนส่วนใหญ่ยากจน และ
ั
พอมีปัญหาเศรษฐกิจเกิดขึ้น คนส่วนใหญ่ตกงาน แต่คนรวยส่วนน้อยก็ยัง
รวยขึ้นกว่าเก่า
ี
กลับมาประเทศไทย เวลาน้ทุกพรรคการเมืองพูดถึงนโยบายความ
เหลื่อมล�้ากันทุกพรรค แต่ปรากฏว่าข้อเสนอเป็นเรื่องประชานิยมหมดเลย
ซึ่งไม่สามารถไปลดเรื่องความเหลื่อมล�้าได้ เพราะความเหลื่อมล�้าเป็นเรื่อง
ื
�
้
เชิงโครงสร้าง ถ้าไม่แก้โครงสร้าง ก็แก้ความเหล่อมลาไม่ได้ ประชานิยม
ิ
ใช้หาเสยงได้ เพราะคนส่วนใหญ่ชอบของแจก แต่ประชานยมไม่ได้
ี
แก้โครงสร้าง
ื
้
�
ื
ความเหล่อมลาไม่ใช่เร่องของคนจนกับคนรวย ไม่ใช่เร่องใครม ี
ื
รายได้น้อย ใครมีรายได้มาก แต่เป็นเร่องของโครงสร้าง เป็นเร่องของระบบ
ื
ื
ระบบการเมือง ระบบเศรษฐกิจ และการศึกษาของเราเป็นตัวสร้างความ
เหลื่อมล�้า
คำ�ให้ก�รช�วกรุงสย�มใหม่ l 25