Page 24 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 24
ื
ชนบทเม่อ ๗๐ ปีก่อน คนไม่ค่อยต่างกันนัก ชุมชนมีลักษณะเคารพ
ธรรมชาติและอยู่ร่วมกับธรรมชาติในลักษณะเกื้อกูล เคารพป่า เคารพดิน
เคารพน�้า เคารพแม่พระธรณี เคารพแม่พระคงคา เจ้าป่าเจ้าเขา มีความ
ื
เคารพและเก้อกูลต่อคนในชุมชนด้วยกัน การผลิตก็เป็นไปเพ่อการ
ื
ด�ารงชีวิต เพื่อการพึ่งตนเองเป็นหลัก
ั
ี
คนหนุ่มสาวในยุคน้นอย่างพวกผม ท้งคนท่มาจากชนบท มาเรียน
ั
ในเมือง หรือคนท่มีพ้นเพในเมือง ไม่น้อยเลยท่มีความสนใจปัญหาสังคม
ื
ี
ี
ปัญหาความยากจน และไม่แค่สนใจเฉยๆ แต่อยากมีส่วนรับผิดชอบปัญหา
ความทุกข์ยากของเพื่อนร่วมโลก หลายคนหันหลังให้เมืองมุ่งหน้าสู่ชนบท
�
ี
เช่น โกมล คีมทอง เป็นต้น อันน้เป็นอุดมคติของคนหนุ่มสาวจานวนไม่น้อย
ในยุคสมัยนั้น
หลัง ๑๔ ตุลา ๒๕๑๖ รัฐบาลทุกรัฐบาล มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจเป็น
หลัก เราตามกระแสโลก เอาเงินเป็นตัวตั้ง โดยไม่ค�านึงถึงอะไรเลย ท�าให้
ิ
ั
ุ
่
ื
เกดปัญหานานปการตามมา อดมคตของคนหน่มสาวยคใหม่กเคลอนตว
ั
ุ
ิ
็
ุ
ึ
ี
ื
�
จากการทางานเพ่อรับใช้ประชาชนหรือเปล่ยนแปลงสังคมให้ดีข้น ไปสู่การ
ท�างานเพื่อความร�่ารวย
ไม่แค่ในเมือง ชนบทก็กระทบ มีการเคลื่อนของค่านิยมจากการมี
ั
ชีวิตพอเพียงและพอดี มีเมตตาธรรมระหว่างกันแบบสังคมเกษตรด้งเดิม
มาสู่ค่านิยมที่มุ่งแข่งขัน มุ่งการสะสม และการค้าก�าไรสูงสุด สร้างปัญหาที่
�
ท้าทายและซับซ้อน ทาให้เกิดช่องระหว่างคนรวยกับคนจน กลายเป็น
ื
ปัญหาความเหล่อมลา ตอนน้ความเหล่อมลาไม่ได้เป็นเร่องของเมืองกับ
�
้
ื
ี
�
้
ื
ชนบทต่อไปอีกแล้ว ในชนบทเองก็มีปัญหาความเหลื่อมล�้าเช่นกัน
้
ั
ื
ผมกลับไปอ่างทองคร้งสุดท้ายเม่อช่วงงานศพแม่ ริมฝั่งนา
�
ี
เจ้าพระยาเปล่ยนไปหมดแล้ว มีโรงแยกข้าวขนาดใหญ่ระหว่างอาเภอเก่า
�
24 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕