Page 29 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 29
ที่สุด เพราะการศึกษานี่ลงลึกไปถึงระดับความคิด ระดับจิตใจจนถึงระดับ
จิตวิญญาณ
้
�
ื
แล้วคนจนจะปลดแอกจากความเหล่อมลาได้อย่างไร คนจนต้อง
็
ื
ึ
่
ื
เหนก่อนว่า การศกษาไทยเป็นเครองมอของชนชนนาในการล้างสมองให้
�
้
ั
ื
�
ี
ั
ยอมจานนต่อชนช้นปกครอง จึงจะปลดแอกได้ จะต้องเปล่ยนวิธีคิดเร่อง
�
การศึกษาเสียใหม่ ต้องทาให้คน โดยเฉพาะคนจน มีความภาคภูมิใจใน
ึ
ตัวเอง ไม่รู้สึกว่าตัวเองมีปมด้อย ความเสมอภาคถึงจะเกิดข้นได้ ความ
เสมอภาคไม่ใช่มีเงินเท่ากัน แต่มีความเป็นมนุษย์เท่ากัน ไม่ว่าคุณจะเป็น
ใคร จะรวยหรือจน แต่คุณมีศักดิ์ศรีเท่ากัน มีความเป็นมนุษย์เท่ากัน
ิ
�
การกระจายอานาจเป็นส่งท่ดี นโยบายจังหวัดปกครองตนเองเป็น
ี
ส่งท่ดี แต่การกระจายอานาจจะได้ผล ประชาชนจะต้องปกครองตนเอง
�
ิ
ี
ก่อน ดังนั้นเราต้องปฏิรูปการศึกษาเสียก่อน การศึกษาที่ไม่ท�าให้คนยอม
จานน ให้คนเป็นตัวของตัวเอง รู้จักสิทธิของตนเอง รู้สึกว่าตนเองก็เป็น
�
�
ั
เจ้าของประเทศคนหน่ง ไม่ใช่แค่ผู้อาศัย ไม่เช่นน้นกระจายอานาจไป อบจ.
ึ
อบต. ก็จะกลายเป็นชนชั้นปกครองใหม่ ที่มาปกครองคนในท้องถิ่น
การศึกษาจะลดช่องว่างนี้ได้ ต่อเมื่อท�าให้เกิดคุณภาพที่เท่าเทียม
ี
กัน จะโรงเรียนในเมือง ในต่างจังหวัด ต้องมีคุณภาพเท่าเทียมกัน อันน้ต่าง
�
ประเทศเขาทากันแล้ว ผมทารายโทรทัศน์ ช่อรายการ “สะพานสายรุ้ง”
ื
�
ี
เป็นรายการโทรทัศน์ของมูลนิธิเด็ก สัมภาษณ์คนท่รู้เร่องการศึกษาใน
ื
�
ประเทศต่างๆ เขาบอกเลยว่าประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย เขาทาให้
�
โรงเรียนมีคุณภาพเท่าเทียมกัน เขาให้ความสาคัญกับเร่องน้มาก เพราะ
ื
ี
ไม่ง้นมันจะเกิดความเหล่อมลาข้น แล้วจะลามไปเกิดความเหล่อมลา
ื
ื
ั
้
้
ึ
�
�
ี
ื
ื
ด้านอ่นๆ เห็นไหมครับ เร่องน้ไม่ใช่เร่องใหม่ มีตัวอย่างมาแล้ว ต่างประเทศ
ื
เขาแก้ปัญหาความเหล่อมลาโดยเร่มต้นจากปฏิรูปการศึกษาไม่ให้มีความ
ื
ิ
�
้
คำ�ให้ก�รช�วกรุงสย�มใหม่ l 29