Page 36 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 36
�
�
โดยกลุ่มชายฉกรรจ์กว่า ๒๐๐ คน เข้าไปทาลาย “กาแพงใจ” ท ี ่
ชาวบ้านสร้างข้นเป็นสัญลักษณ์ เพ่อมิให้มีการขนแร่ออกจากเหมืองได้
ึ
ื
�
ชาวบ้านถูกทาร้ายร่างกาย ถูกมัดมือมัดเท้า แต่ก็ยังยืนหยัดต่อสู้ รวมท้ง ั
ต่อสู้ทางศาลจนศาลมีค�าสั่งให้ปิดเหมืองแร่ ท�าการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม และ
เยียวยาค่าเสียหายให้แก่ชาวบ้านจ�านวน ๑๔๙ ครอบครัว
ก่อนปาฐกถา อาจารย์สกุล บุณยทัต ซ่งมาร่วมงานและอ่านบทกว ี
ึ
ในงานปาฐกถาติดต่อกันมาหลายปี ปีน้ก็มาอ่านบทกวีรูปกลอนเปล่า ๒ บท
ี
ที่งดงาม จับใจ เหมือนทุกครั้ง
ี
ื
ปาฐกของปาฐกถาโกมลคีมทองปีน้คือ พิภพ ธงไชย เพ่อนร่วม
อุดมการณ์ของโกมล คีมทอง มาตั้งวัยหนุ่ม มีสันติสุข โสภณศิริ เพื่อนร่วม
ึ
�
อุดมการณ์รุ่นน้องมาเป็นผู้แนะนาปาฐก ซ่งสันติสุข “ทาการบ้าน” มาอย่าง
�
ดี โดยได้ข้อมูลส่วนใหญ่จากหนังสือทานองอัตชีวประวัติของพิภพ ช่อ
�
ื
ี
�
ี
่
พาแม่กลับบ้าน ทพิภพ “ถอดหัวใจ” เขยนให้แม่คราวทาบุญ ๑๐๐ วัน
ให้แม่
ี
�
พิภพเกิดท่อาเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง จึงได้เห็นอนุสาวรีย์นาย
ดอก และนายทองแก้ว “วีรบุรุษแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ” ที่หน้าโรงเรียน
ั
วิเศษไชยชาญมูลนิธิมาต้งแต่ยังเด็ก สันติสุขจึงสรุปไว้อย่างชัดเจนว่า
ั
ิ
“พภพ... เชอวา ชาวนากับนกรบกชาตคนนนคอคนคนเดยวกน สาหรบเขา
ี
้
ื
ั
ั
ั
่
่
ื
�
ิ
ู
้
วีรบุรุษอย่างนายดอกและนายทองแก้ว ที่แท้ก็คือ ชาวนาปลูกข้าวในยาม
สงบ แต่เมื่อยามมีศึกมาประชิด ชาวนาเหล่านี้ก็ทิ้งเคียวเกี่ยวข้าว จับดาบ
เป็นกองหน้าออกสู้ศึกล้มตายกันก่อนพวกขุนนางทหารข้ฉ้อในเมืองกรุง
ี
เสียอีก”
ี
ี
ี
ี
จึงไม่แปลกท่ในท่สุดท่ “นักการศึกษา” อย่างพิภพ จะเส่ยงคุก
ี
ตะรางและยืนเส่ยงกับระเบิดและกระสุนปืนบนเวทีต่อสู้ทางการเมือง
36 l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕