Page 38 - คำให้การชาวกรุงสยามใหม่
P. 38

ประโยคเหล่านี้นับว่ามีความหมายมาก ควรผู้ที่ปกครองประเทศ

               จะต้องรับฟังและหาทาง “แก้ไข” ไม่ใช่ “แก้ตัว” หรือหาทาง “แก้ล�า”
                       พิภพ กล่าวถึง รากเหง้าส�าคัญของปัญหาสังคมไทยว่า คือ ความ
                       ้
                   ื
                       �
                                  ื
                           ึ
               เหล่อมลา [ซ่งไม่น่าเช่อว่า ภายใต้การบริหารของ คสช. เพียง ๔-๕ ปี
                                                     �
                                                     ้
                                                  ื
               สามารถนาพาประเทศไทยให้ “มีความเหล่อมลาสูงเป็นอันดับ ๑ ของโลก”
                       �
               แล้ว โดยจากรายงานของ The Credit Suisse Global Wealth Report
               2018 (พ.ศ. ๒๕๖๑) ระบุว่าคนไทยร้อยละ ๑ ถือครองความมั่งคั่งหรือมี
               ทรัพย์สินรวมถึงร้อยละ ๖๖.๙ ของทรัพย์สินรวมทั้งประเทศ!–ผู้เขียน]
                       พิภพชี้ว่า “ระบบการเมือง เศรษฐกิจ และการศึกษาของเราเป็น
                               ื
               ตัวสร้างความเหล่อมลา...รัฐสภา...เป็นผู้ผลิตปัญหาความเหล่อมลา...
                                                                        �
                                                                        ้
                                   �
                                                                    ื
                                   ้
                                    ื
               การเมืองไทยมีปัญหาเร่องการกระจายอานาจและการมีส่วนร่วมของ
                                                  �
               ประชาชน...”
                                        �
                       พิภพเสนอว่า “ต้องทาให้การเมืองเป็นประชาธิปไตย ให้เศรษฐกิจ
               เป็นประชาธิปไตย ก็จะแก้ปัญหาความเหลื่อมล�้าได้ แต่จะท�าได้ต้องปฏิรูป
               การศึกษาให้เป็นประชาธิปไตยเสียก่อน เพราะการศึกษาเป็นรากฐาน...”
                       แต่พิภพก็พบว่าระบบการศึกษาไทยปัจจุบันกลับ “เป็นเครื่องมือ
                                                                       ี
                                     ี
                                                             ู
                                                                   ี
                            ื
               สร้างความเหลอมลา” เสยเอง “...เพราะคนจนจะอย่ในโรงเรยนท่ไม่ม  ี
                            ่
                                �
                                ้
               คุณภาพ มีงบประมาณน้อย ครูไม่เพียงพอ ส่วนคนท่เรียนสาธิต เรียน
                                                             ี
               สวนกุหลาบ เรียนเตรียมอุดม และสมัยนี้มีโรงเรียนอินเตอร์ด้วย จะกลาย
               เป็นชนชั้นน�า”
                       “ในโรงเรียน เด็กไม่กล้าสู้กับครู เด็กถูกสอนให้จานนต่อครู เม่อโต
                                                             �
                                                                        ื
                                                                       �
                                                 �
                 ึ
               ข้นก็ยอมจานนต่อรัฐ ครูเป็นตัวแทนของอานาจ รัฐต้องการให้คนยอมจานน
                        �
               โดยเริ่มต้นจากสอนเด็กให้ยอมจ�านนต่อครู”
                       พิภพเสนอว่า “คนจนจะปลดแอกจากความเหลื่อมล�้าได้...คนจน
               38  l ป�ฐกถ�มูลนิธิโกมลคีมทอง ประจำ�ปี ๒๕๖๒ ครั้งที่ ๔๕
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43