Page 24 - คู่มือภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ2565
P. 24
24
(๑) ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ น (๒) แนวทางการจัดการความเสี่ยง
ในการฝึกภาคปฏิบัติ
๒. การได้รับอุบัติเหตุจาก - อาจารย์ประจ าสอนภาคปฏิบัติและ/หรืออาจารย์พเลี้ยง ปฐมนิเทศ และสาธิต
ี่
การถูกของมีคมทิ่มต า การใช้และทิ้งของมีคม เช่นปลดเข็ม การใส่ปลอกเข็ม การทิ้งเข็ม สิ่งของที่เปื้อน
สารคัดหลั่ง หลอดยาที่ใช้แล้ว ตามหลักการควบคุมการติดเชื้อ
๓. การได้รับอุบัติเหตุการ - อาจารย์ประจ าสอนภาคปฏิบัติและ/หรืออาจารย์พเลี้ยง นิเทศนักศึกษาอย่าง
ี่
จากสัมผัสเลือดหรือสิ่งคัด ใกล้ชิดขณะนักศึกษาท าการฝึกปฏิบัติพยาบาล
หลั่งจากการฝึกปฏิบัติ
ี่
๔. การติดเชื้อจากการ - อาจารย์ประจ าสอนภาคปฏิบัติและ/หรืออาจารย์พเลี้ยง ปฐมนิเทศแนวทางการ
ปฏิบัติงาน ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากผู้ป่วย
- นักศึกษาทุกคนต้องได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ครบอย่างน้อย 2 เข็มก่อนฝึก
ปฏิบัติงาน
- อาจารย์ประจ าสอนภาคปฏิบัติและ/หรืออาจารย์พเลี้ยง นิเทศใกล้ชิดเกี่ยวกับ
ี่
การป้องกันตนเองในขณะดูแลผู้ป่วยโรคติดเชื้อ เน้นการล้างมืออย่างถูกต้อง ๗
ขั้นตอน และ ๕ moment การปฏิบัติงานโดยยึดหลัก Standard Precaution
และ Contact Precaution
๕. การเกิดความผิดพลาด - จัดท ารายชื่ออาจารย์ประสานงาน อาจารย์พี่เลี้ยง ในแต่ละแหล่งฝึก พร้อมเบอร์
ในการปฏิบัติงาน โทรศัพท์ติดต่อ
- ในกรณีที่เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยง ให้อาจารย์พยาบาลประจ าด าเนินการดังนี้
* ประสานงานกับแหล่งฝึก เพื่อปฏิบัติตามกระบวนการที่ก าหนด
ุ
* บันทึกแบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง และอบัติการณ์ความเสี่ยง แจ้ง
ผู้รับผิดชอบของรายวิชา เสนอผ่านหัวหน้ากลุ่ม และผู้รับผิดชอบการบริหารความ
เสี่ยงและควบคุมภายใน
- ติดตามนักศึกษาให้ปฏิบัติตามกระบวนการที่ก าหนดให้ครบถ้วน จนสิ้นสุด
กระบวนการพร้อมแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องตามที่ก าหนด
- เตรียมความพร้อมของนักศึกษาก่อนขึ้นการฝึกปฏิบัติในรายวิชาการปฏิบัติการ
พยาบาล และจัดประสบการณ์ทางคลินิกให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเพมใน
ิ่
ห้องปฏิบัติการ
์
- จัดให้มีจ านวนอาจารย์นิเทศกับจ านวนนักศกษาตามเกณฑของสภาการพยาบาล
ึ
ในอตราส่วนอาจารย์นิเทศ:นักศึกษา ในการสอนแต่ละรายวิชาของภาคปฏิบัติไม่
ั
เกิน ๑:๘ เพื่อให้สามารถติดตามการนิเทศได้อย่างทั่วถึง