Page 703 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 703
(ศิริญากรณ์ โชคประเสริฐศรี บรรณาธิการ, พิเศษ เจียรจันทร์พงษ์ และ ศ.ดร. สุเนตร ชุตินธรานน์ นำเสนอ,
์
๒๕๖๒, ราชวงษ์พงษาวดารพม่า นายต่อแปล, กรุงเทพ: บริษัทไทยควอลิตี้บุ๊คส(๒๐๐๖), หน้า ๓๙๐)
่
ั
กล่าวคือ ภายหลังจากทเมืองลบแลถูกพม่าตแตกเมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรีในปีพ.ศ.๒๓๑๖ ตอมาอีกราวสบ
ี
ี่
ิ
ึ
สองปีเมืองลับแลก็ถูกพม่าตีแตกอีกครั้งในปีพ.ศ.๒๓๒๘ แต่เหตุการณ์ครั้งหลังนี้ยังไม่ปรากฏพบว่ามีการบันทกไว้
อย่างละเอียดเหมือนเมื่อคราวกวีชาวยอง ศรีวิไชยยา ได้บันทึกเป็นบทคร่าวไว้
นอกจากนี้ยังพบคำว่า นาขาม นาขามซ้าย ซึ่งเป็นยศนายทหารที่นำกำลังพลไปตคายสุโขทัยจากคร่าวฯ
่
ี
บทที่ ๒๔๗ ,๒๕๑ อีกด้วย เป็นไปได้ว่าชื่อ ด่านนาขาม อาจถูกเรียกตามยศทหารนาขาม
247. วันเดือนห้า ออกค่ำหนึ่งนั้น นาขามผู้ คานไป
กวดค่ายเมือง สักกะไท ทังเงี้ยวไท ม่านพิกเถิงหั้น
251. ซ้ำคานคน บ่รู้กี่ร้อย ทั้งเงี้ยวม่านผ ู้ ยวนไท
ั
หื้อนาขามซ้าย ไปสกกะไท กำไพร่ไป หกสิบไพร่ผ้า
่
ี
จากข้อมูลดังกล่าวรวมถึงหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พบในพื้นท่ ทำให้มองเห็นบทบาทของดานป้อมปราการ
ึ
เมืองลับแลชัดเจนมากยิ่งขึ้นเป็นลำดับ ด่านของเมืองลับแลเหล่านี้ เปรียบเสมือนปราการสำคัญที่ช่วยป้องกันข้าศก
ศัตรูที่จะเข้ามาโจมตีตัวเมืองที่อยู่ลึกเข้าไปด้านใน ด้วยความที่เมืองลับแลมีภูมิประเทศเป็นภูเขาสลับกับที่ราบ
ั
ี่
ระหว่างภูเขาจึงอาจส่งผลให้ไม่มีกำแพงเมืองชั้นในทล้อมรอบตัวท้องเมือง คล้ายกับเมืองทมีชยภูมิตงบนภูเขาโดย
ั้
ี่
ส่วนมาก เมืองลับแลคงอาศัยวัดที่อยู่โดยรอบท้องเมืองเหล่านั้นเป็นเสมือนพุทธปราการหมายแทนเขตแนวตว
ั
กำแพงชั้นใน
หากจะกล่าวให้เห็นภาพชัดเจนขึ้นก็คือ การเดินทางสู่เมืองลับแลจากอาณาจักรล้านนาทางเมืองแพร่
จะต้องข้ามเขาพลงซึ่งเป็นปราการด่านธรรมชาติที่สูงชันก่อน แล้วจึงมาถึงที่ราบริมแม่น้ำและต้องผ่านด่านป้อม
ึ
ปราการสามด่านคือ ด่านคีรีเมือง ด่านจอมคีรี และดานคีรีศีล ซึ่งสกัดกั้นผู้คนเดินทางและกองทัพของข้าศึกจาก
ทางทิศเหนือ แล้วจึงข้ามภูเขาอีกชั้นก่อนที่จะลงสู่ที่ราบทุ่งนาหนองของท้องเมืองลับแลงนั่นเอง
ด่านของเมืองลับแล
หน้า ๖๖