Page 144 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 144

บทที่ 7 แนวคิดสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ    133





                     บทสรุป
                                                                                       ั
                             แนวคิดเกี่ยวสิ่งแวดล้อมทั้ง 3 แนวคิด ไม่ว่าจะเป็น เป้าหมายการพฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
                     แนวคิดสีเขียว (Green Concept) แนวคิดมาตรฐานการเดินทางและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน รับผิดชอบ

                     และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (GSTC) ล้วนแต่เป็นแนวคิดที่มีส่งผลต่อทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
                                                                        ่
                     รวมถึงมีส่วนในการก าหนดทิศทางหรือแนวโน้มพฤติกรรมนักทองเที่ยวในอนาคต
                                            ั
                             เมื่อกล่าวถึงการพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเป็นมุมมองต่อ
                     การพฒนาแหล่งท่องเที่ยว ชุมชนท่องเที่ยว หรือจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยว หากแต่ทั้ง 3 แนวคิด
                          ั
                                                                                                  ั
                     ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าภาคธุรกิจในอตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ เช่น ธุรกิจที่พกแรม ธุรกิจ
                                                     ุ
                                                                                                     ั
                     น าเที่ยว ธุรกิจบริการอาหารและเครื่องดื่ม ต่างสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดสิ่งแวดล้อมในการพฒนาหรือ
                     เป็นแนวทางในการด าเนินธุรกิจด้วยความห่วงใยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้

                     ค าถามทบทวน
                             1) ให้นิสิตยกตัวอย่างธุรกิจ หรือกิจกรรมการท่องเที่ยวที่มีการน าแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทั้ง

                     3 แนวคิดนี้ มาประยุกต์ใช้การในด าเนินงาน
                             2) ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม และคัดเลือกแหล่งท่องเที่ยว หรือธุรกิจการท่องเที่ยวหรือธุรกิจจิตบริการ
                     เพื่อทดลองน าหลักเกณฑ์และหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของ GSTC เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ผลการด าเนินงาน
                     เพื่อบ่งชี้ถึงความสามารถในการสร้างความยั่งยืนในอนาคตของธุรกิจ


                     เอกสารอ้างอิง
                     คมศักดิ์ สว่างไสว. (2558). ธุรกิจสีเขียว (Green Business). กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจ

                           สีเขียว.
                     โครงการวิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. (ม.ป.ป.)
                     พสุ เดชะรินทร์ (2555). เจาะกระแสธุรกิจสีเขียว กลยทธ์องค์กรขั้นเทพ. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2560,
                                                                  ุ
                           จาก http://www.manager.co.th/Business/ViewNews.aspx?NewsID=9550000116339
                     พิพัฒน์ วีระถาวร. (2555). ธุรกิจสีเขียว (Green Business) โอกาสของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 12
                           กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=03-11-
                           13.pdf&id=1042&keeptrack=11

                     สุพจน์ ชุณหโชติอนันต์ และธิตา อ่อนอินทร์ (2560) ส ารวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
                           ในบริบทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์สังคม และกฎหมาย” เป้าหมาย
                           ที่ 12, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
                     มูลนิธิใบไม้เขียว. (2016). โรงแรมใบไม้เขียว. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2561, จาก

                           https://www.eg.mahidol.ac.th/green-
                     ThaiPR.NET. (25 พฤศจิกายน 2553). เลือกที่พักแบบไหนโลกไม่ร้อน. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2561,
                           จาก http://www.thaipr.net/travel/323332
                     Ameli, N. and Bisaro, S. (2016). Green business models and the green finance

                           landscape. Retrieved February 15, 2019, from https://www.green-win-
                           project.eu/sites/default/files/D4.1-green_investment_landscape-V2.pdf
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149