Page 143 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 143
บทที่ 7 แนวคิดสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและจิตบริการ 132
ื่
ที่รับผิดชอบการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวไปสู่ความยั่งยืนสามารถถือปฏิบัติได้ และเพอจะตอบสนอง
ค านิยามของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แหล่งท่องเที่ยว จะต้องบริหารจัดการอย่างบูรณาการ และ
มองภาพรวมที่ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ คือ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน 2) เพม ผลประโยชน์และลด
ิ่
ิ่
ผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม-เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น 3) เพมผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ
ิ่
ทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยวและ 4) เพมผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทาง
สิ่งแวดล้อม โดยหลักเกณฑ์นี้ ได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ใช้กับแหล่งท่องเที่ยวทุกประเภท และ
ทุกขนาด
ั
่
7.3.1 หลักเกณฑ์และตัวชี้วดหลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส าหรับแหล่งทองเที่ยว
์
ิ
ั
การพัฒนาหลักเกณฑและตัวชี้วัดหลักเกณฑ์นี้ ถูกพัฒนาโดยองค์การบริหารการพฒนาพื้นที่พเศษ
เพอการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. โดยการสังเคราะห์จากหลักเกณฑ์ต่าง ๆ และ
ื่
ตัวชี้วัดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ เป้าหมายการพฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable
ั
Development Goals) การแก้ไขปัญหาความยากจน ความเท่าเทียมทางเพศสภาพ และความยั่งยืน
ทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ถือเป็นประเด็นส าคัญที่ได้รับการพูด
ถึงในหลักเกณฑ์นี้ นอกจากนี้ ยังมีตัวชี้วัดระดับแหล่งท่องเที่ยวของ UNWTO (UNWTO Destination
Level Indicators) หลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส าหรับแหล่งโรงแรมและบริษัทน าเที่ยว
(Global Sustainable Tourism Criteria for Hotel and Tour Operator) และแนวทางการรับรองต่าง ๆ
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการรับรอง ตัวชี้วัด หลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศจากบริบททางวัฒนธรรม
ภูมิศาสตร์และการเมืองที่แตกต่างกันทั่วโลก ตัวชี้วัดต่าง ๆ ได้รับการพจารณาในเรื่องความเกี่ยวข้อง
ิ
ความสามารถในการน าไปใช้ได้จริง และความสามารถในการประยุกต์ใช้กับแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย
หลักเกณฑ์และตัวชี้วัดที่ อพท. พฒนาขึ้น ได้ถูกน าเสนอในการประชุมสัมมนาและนิทรรศการ
ั
ั
ความรู้การพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ภายใต้เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ในหัวข้อ “Grow
Green Together: Travel Forever” ซึ่งมีรายละเอียดดังปรากฏในภาคผนวกที่ 3
7.3.2 แนวทางปฏิบัติของโรงแรมและบริษัทน าเที่ยวตามหลักเกณฑ์และตัวชี้วัด GSTC
ิ
The Global Sustainable Tourism Council (GSTC) เป็นองค์กรอสระและไม่แสวงผลก าไร
ื่
ท าหน้าที่ก าหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเพอความยั่งยืนให้กับธุรกิจการเดินทางและการท่องเที่ยว
โดยหลักเกณฑ์ที่ก าหนดขึ้นผ่านกระบวนการพัฒนาหลายปี โดยความร่วมมือจากทีมงานต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก
ประโยชน์ที่ธุรกิจจะได้รับตามแนวทางของ GSTC
1. ช่วยให้การด าเนินงานของธุรกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. ช่วยให้ธุรกิจมีแนวทางในการเลือกโปรแกรม ผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นไปตามมาตรฐาน
ระดับสากล
3. เป็นแนวทางให้ธุรกิจเลือก supplier และโปรแกรมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
4. เพื่อเครื่องมือในการสื่อสารการตลาดหรือสร้างแบรนด์ให้กับธุรกิจ
อย่างไรก็ตาม แนวทางที่ GSTC ให้นั้น จะบอกได้ว่าสิ่งใดที่ควรท า แต่ไม่สามารถบอกวิธีการว่า
ควรท าอย่างไร และไม่ได้ระบุให้เป็นเป้าหมายที่จะต้องบรรลุถึงให้ได้
ี
รายละเอยดของหลักเกณฑ์และหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส าหรับโรงแรมและ
ธุรกิจน าเที่ยว น าเสนอไว้ตามรายละเอียดในภาคผนวกที่ 4