Page 13 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 13

12
                    20.5 เสถียรภาพของนิวเคลียส

                       จากสมมติฐานเรื่องโครงสร้างของนิวเคลียส ท าให้ทราบ องค์ประกอบของนิวเคลียส คือ โปรตอน

                                                                                                  ้
               และนิวตรอน ปัญหา คือ เหตุใดอนุภาคเหล่านี้จึงรวมกันอยู่เป็นนิวเคลียสได้ทั้งๆ ที่มีแรงผลักทางไฟฟาระหว่าง
               โปรตอน และมีแรงอะไรในนิวเคลียสที่ยึดอนุภาคเหล่านี้ไว้




                         20.5.1 แรงนิวเคลียร์


                       การทดลองเรื่องการกระเจิงของอนุภาคแอลฟาโดยรัทเทอร์ฟอร์ดท าให้ทราบว่า นิวเคลียสมีประจุ
                                                    ้
               ไฟฟ้าบวก ยังพบว่าอนุภาคแอลฟาสามารถเขาใกล้นิวเคลียสของทองค าได้มากที่สุดที่ระยะ 3 × 10 −14  เมตร
               เพราะมีแรงระหว่างไฟฟ้าผลักอนุภาคแอลฟาไว้ นักฟิสิกส์จึงไม่สามารถหาขนาดแท้จริงของนิวเคลียสจากการ

               ทดลองนี้ได้ การที่จะให้อนุภาคเคลื่อนที่ถึงนิวเคลียสได้นั้น อนุภาคที่ใช้ต้องไม่มีประจุไฟฟ้า และจากการ
               ทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายวิธีสามารถสรุปได้ว่า นิวเคลียสมีลักษณะเป็นทรงกลม และขนาดของ

               นิวเคลียสขึ้นอยู่กับจ านวนนิวคลีอออนในนิวเคลียส ดังนี้

                              ถ้าให้      เป็นรัศมีของนิวเคลียสที่มีเลขมวล   

                                          1 3
                                           ⁄
                              จะได้      ∝   
                              หรือ      =      
                                             ⁄
                                            1 3
                                         0
                       ท าให้ทราบว่า ไฮโดรเจนมีเลขมวล 1 มีรัศมีของนิวเคลียสเท่ากับ 1.2 × 10 −15  เมตร  ส่วนทองท ามี
               เลขมวล 197  รัศมีของนิวเคลียสเท่ากับ 7.0 × 10 −15  เมตร จะได้ว่า รัศมีของนิวเคลียสทั้งหลายมี
               ค่าประมาณ 10  −15  เมตร ดังนั้นนิวเคลียสจึงมีขนาดเล็กกว่าอะตอมประมาณแสนเท่า

                       นิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก ท าให้โปรตอนกับโปรตอนในนิวเคลียสอยู่ใกล้กันมากเป็นผลให้แรงผลัก
               ไฟฟ้าระหว่างโปรตอนกับโปรตอนในนิวเคลียสมีค่าสูงมาก แรงยังมีค่ามากกว่าแรงดึงดูดระหว่างมวลมาก

               ดังนั้น การที่นิวคลีออนสามารถยึดกันอยู่ในนิวเคลียสได้จะต้องมีแรงดึงดูดอีกประเภทหึ่งกระท าระหว่าง

               นิวคลีออน แรงดังกล่าวนี้ต้องเป็นแรงดึงดูดและมีค่ามากกว่าแรงผลักระหว่างประจุไฟฟา แรงนี้เรียกว่า
                                                                                      ้
               แรงนิวเคลียร์ (nuclear force)


                       พิจารณาความหนาแน่นของนิวเคลียส เนื่องจากนิวเคลียสมีรัศมีประมาณ 10 −15  เมตร หรือม ี
               ปริมาตรประมาณ 10  −45  ลูกบาศก์เมตร และมีมวลประมาณ 10 −75  กิโลกรัม ดังนั้นความหนาแน่นของ

               นิวเคลียสจะมีค่าประมาณ 10  กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นเมื่อเทียบกับความหนาแน่สูงสุด
                                        18
               ของออสเมียม เป็นธาตุที่มีความหนาแน่นมากที่สุด คือ 2.25 × 10  กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จะเห็นว่า
                                                                      4
               ความหนาแน่นของนิวคลีออนในนิวเคลียสอัดตัวกันอยู่อย่างหนาแน่นมาก ดังนั้นแรงนิวเคลียร์ต้องมีคา
                                                                                                  ่
               มหาศาล
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18