Page 8 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 8

7


                                                                    1.386
                                                                                              =     
                                                                   0.0521
                                                                                                                                           = 26.6 d

               ตอบ   ต้องใช้เวลา 26.6 วัน  ไอโอดน-126 จงเหลอ 2.5 กรม
                                                                  ั
                                                           ื
                                               ี
                                                      ึ
                                                                                            ื
                       ข.  การหาธาตุกัมมันตรังรังสีที่เหลืออยู่ขณะเวลา     ใดๆ  หาได้จากสมการ (20.8)  คอ
                                                                                  −1
                             =       −      โดยที่     = 10 g ,     = 20 d ,     = 0.0521 d
                                 0
                                               0
                          แทนค่าลงในสมการ (20.8) จะได้
                                                                                       = (10g)(   −(0.0521   −1 )(20d) )
                                                                                                   = (10g)(   −1.0420 )
                                                                                                  (   −1.0420 ) = 0.353
                                                                                                                         = (10g)(0.353)

                                                                                                                         = 3.53g
                                              ี
               ตอบ  เมื่อเวลาผ่านไป 20 วัน จะมปริมาณไอโอดีน-126เหลืออยู่จากการสลายเท่ากับ 3.53 กรัม



                    20.4 ไอโซโทป

                       เมื่อพิจารณาอนุกรมการสลายของธาตุกัมมันตรังสี พบว่า      isotopes   มาจากภาษากรีก

               นิวเคลียสบางกลุ่มมีเลขอะตอมท่ากัน แต่มีเลขมวลต่างกัน เช่น       iso           แปลว่า เหมือนกัน อย่างเดียวกัน

               กลุ่มของยูเรเนียม มียูเรเนียม-234 ยูเรเนียม-235 และยูเรเนียม-238   tope        แปลว่า สถานที่
               นิวเคลียสมีเลขอะตอมหรือจ านวนโปรตอนเท่ากันคือ 92แต่มีจ านวน     isotopes   หมายถึง อยู่ในต าแหน่งเดียวกัน

               นิวตรอนในนิวเคลียวต่างกัน เราเรียกนิวเคลียสมี่มีจ านวนโปรตอน    ในตารางธาตุ กล่าวคือ เป็นธาตุเดียวกัน
               เท่ากัน แต่จ านวนนิวตรอนต่างกันว่า ไอโทป (isotopes) ของธาตุเดียวกัน


                       ไอโซโทปของธาตุมีชนิดที่ไม่เถียรเรียกว่า ไอโซโทปกัมมันตรังสี (radioisotopes) และชนิดที่ไม่มการ
                                                                                                      ี
               สลายต่อไปเรียกว่า ไอโซโทปเสถียร (stable isotopes) เช่น ไอโซโทปของตะกั่วมีหลายชนิด เป็นไอโซโทป
               เสถียร 4 ชนิด คือ ตะกั่ว-204 ตะกั่ว-206 ตะกั่ว-207 และตะกั่ว-208 ไอโซโทปกัมมันตรังสี เช่น ตะกั่ว-210

               และตะกั่ว-214 ส าหรับธาตุบางธาตุมีแต่ไอโซโทปกมมันตรังงสีเท่านั้น
                                                         ั
                       เนื่องจากไอโซโทปของธาตุเดียวกันมีแลขอะตอมเท่ากัน แต่เลขมวลต่างกัน จึงมีคุณสมบัติทางเคมี

               เหมือนกันแต่สมบัติทางกายภาพต่างกัน ดังนั้นการวิเคราะห์ไอโซโทปของธาตุชนิดจึงไม่สามารถกระท าได้โดย

               อาศัยปฏิกิริยาเคมี เนื่องจากไอโซโทปมีคณสมบัติต่างกัน เช่น มีมวลต่างกัน การวิเคราะห์ไอโซโทปจึงสามารถ
                                                 ุ
               กระท าได้โดยจ าแนกมวล มวลของไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกันมีความแตกต่างกันย้อยมาก การวิเคราะห์

               ไอโซโทปจึงต้องใช้เครื่องมือที่สามารถวัดมวลได้ละเอียดมาก โดยใช้เครื่องมอ แมสสเปกโทรมิเตอร์
                                                                             ื
               (mass spectrometer) ในการหามวล
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13