Page 10 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 10

9


                       ถ้าให้อนุภาคซึ่งมีประจุ +   เคลื่อนที่ผ่านช่องเปิดที่หนึ่งเข้ามาในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า    และ

               สนามแม่เหล็ก    มีอัตราเร็วเท่ากับ    เมื่อเกิดสมดุงจะได้ว่า
                                                              =     
                                                                
                                                             หรือ             =
                                                                
                                                                        ้
                                                ั
                       สามารถหาอัตราเร็ว    ได้จากอตราส่วนของขนาดสนามไฟฟาและขนาดสนามแม่เหล็กในบริเวณส่วน
               คัดเลือกความเร็ว ดังนั้นกลุ่มอนุภาคที่มีอัตราเร็วนี้จะเคลื่อนที่เข้าสู่ส่วนวิเคราะห์ ซึ่งมีสนามแม่เหล็ก     ที่มี
                                                                                                   ′
               ทิศทางตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ของอนุภาค ท าให้เกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กบังคับให้อนุภาคที่มีมวล
               ต่างกันเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งรูปวงกลมที่มีรัศมีต่างกัน ดังรูป 20.16


















                              รูป 20.16 ส่วนวิเคราะห์ซึ่งไอโซโทปมวลต่างกันจะเคลื่อนที่ด้วยรัศมีต่างกัน

                       จากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีมวลต่างกันจะเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งรูปวงกลมที่มีรัศมีต่างกัน เมื่อ

               อนุภาคกระทบแผ่นฟิล์มบันทึกภาพจะท าให้เกิดรอยด า ถ้า    เป็นรัศมีความโค้งชองวงกลม    เป็นมวลของ
                           ́
               อนุภาค และ    เป็นสนามแม่เหล็กในบริเวณนี้ จะได้
                                                          ′
                                                                                               =       2
                                                                   ′
                                                                                                  =         
                                                                   
                                                                 
                              เนื่องจาก                                =
                                                                 

                                                                   ′
                                                                    
                              จะได้                                                                                                                              (20.9)
                                                                      
                                                            =
                                                                  
                       สมการ (20.9) แสดง มวลของอนุภาคแปรผันตรงกับงของแต่ละรัศมความโค้ง และเนื่องจากมวลของ
                                                                              ี
               แต่ละไอโซโทปแตกต่างกัน ดังนั้นรัศมีความโค้งของแต่ละไอโซโทปจะแตกต่างกัน การวัดรัศมีจึงเป็นหลักการที่
               เครื่องมือวิเคราะห์ไอโซโทปได้

                       การวิเคราะห์ผล   ,   ,    ,    เป็นค่าที่ได้จากการทดลอง และ    คือประจุไฟฟ้าของอนุภาค ดังนั้น
                                          ′
               สามารถหามวล    ได้ วิธีนี้สามารถหามวลอะตอมของธาตุต่างๆ ได้ มวลอะตอมของไอโซโทปบางชนิดแสดง
               ในตาราง 20.4
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15