Page 17 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 17
16
พลังงานยึดเหนี่ยว = (0.098940u)(931.5MeV/u)
= 92.16 MeV
ส าหรับคาร์บอน-12 พลังงานยึดเหนี่ยวมีค่าเป็น 92.16 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
ในการค านวณข้างต้น พิจารณาผลต่างของมวลอะตอมจากต่างราง 20.4 จะเท่ากับผลต่างของมวล
ของนิวเคลียสพอดี เพราะมวลของอิเล็กตรอนในอะตอมหักล้างกันไปหมดแล้ว ดังนั้นพลังงานที่เทียบเท่ากับ
มวลที่หายไปจึงหมายถึงพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวคลีออนในนิวเคลียสนั้นๆ จึงสามารถหาส่วนพร่องมวลได้จาก
ส่วนพร่องมวลของอะตอม = มวลองค์ประกอบของอะตอม – มวลอะตอม
= (มวลของอะตอมไฮโดรเจน Z ตัว) +
(มวลนิวตรอน (A-Z) ตัว) - (มวลอะตอม)
55
16
35
ตัวอย่าง 3 จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวของ ก. O, ข. Cl, ค. Mn
8
17
25
แนวคิด พลังานยึดเหนี่ยวเท่ากับพลังงานที่เทียบเท่าส่วนพร่องมวล โดยส่วนพร่องมวลหาได้จากส่วนพร่อง
มวลของมวลอะตอม = มวลองค์ประกอบของอะตอมข – มวลอะตอม
วิธีท า
16
16
16
ก. ส่วนพร่องมวลของอะตอม O = มวลองค์ประกอบของ O - มวลอะตอม O
8
8
8
หรือ ∆ = (8 + 8 + 8 ) − −16
= [8(1.007276 ) + 8(1.008665u) + 8(0.000549u)] − 15.99491
= 0.137005
พลังงานยึดเหนี่ยว = พลังงานที่เทียบเท่าส่วนพร่องมวล
⁄
= (0.137005u)(931.5MeV u)
= 127.62015 MeV
ข. ส่วนพร่องมวลของอะตอม Cl = มวลองค์ประกอบของ Cl - มวลอะตอม Cl
35
35
35
17
17
17
หรือ ∆ = (17 + 18 + 17 ) − −35
= [17(1.007276 ) + 18(1.008665u) + 17(0.000549u)] − 34.968853
= 0.137005
พลังงานยึดเหนี่ยว = พลังงานที่เทียบเท่าส่วนพร่องมวล
⁄
= (0.320142u)(931.5MeV u)
= 298.21227 MeV
55
55
ค. ส่วนพร่องมวลของอะตอม Mn = มวลองค์ประกอบของ Mn - มวลอะตอม Mn
55
25
25
25
หรือ ∆ = (25 + 30 + 25 ) − −55
= [25(1.007276 ) + 30(1.008665u) + 25(0.000549u)] − 54.938048
= 0.137005
พลังงานยึดเหนี่ยว = พลังงานที่เทียบเท่าส่วนพร่องมวล
= (0.517527u)(931.5MeV u)
⁄
= 482.0764 MeV
ตอบ ก. พลังงานยึดเหนี่ยวของ O เท่ากับ 127.6 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
16
8
ข. พลังงานยึดเหนี่ยวของ Cl เท่ากับ 298.2 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
35
17
ค. พลังงานยึดเหนี่ยวของ Mn เท่ากับ 482.1 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
55
25