Page 19 - ฟิสิกส์นิวเคลียร์
P. 19
18
พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และธาตุในช่วงที่มีเลขมวลระหว่าง 50-90 พลังงานยึด
เหนี่ยวต่อ นิวคลีออนจะมีค่าค่อนข้างคงตัว และเมื่อเลขมวลมีค่าเกินช่วงนี้ พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนก็
่
จะคอยๆ ลดลง สรุปได้ว่าในช่างที่เลขมวลมีค่าระหว่าง 50-90 พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนมีค่าสูงสุด
รูป20.19 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระกว่างยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนกับเลขมวล
จากกราฟจะเห็นได้ว่า เหล็ก Fe มีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเท่ากับ 8.8 MeV ในขณะที่
56
ยูเรเนียม U มีค่าพลังงานเท่ากับ 7.6 MeV แสดงว่า การท าให้นิวเคลียสเหล็กแตกตัวเป็นนิวคลีออนท าได้
235
ยากกว่ายูเรเนียม นั่นคือเหล็กมีเสถียรภาพสูงกว่ายูเรเนียม
ตัวอย่าง 4 จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของธาตุ 226 Ra
88
ก าหนดให้ มวลอะตอมของเรเดียม ( 226 Ra) เท่ากับ 226.025402u
85
มวลอะตอมของไฮโดรเจน ( H) มีค่า 1.00782u
1
1
มวลนิวตรอน มีค่า 1.858968 u
วิธีท า อะตอมของ 226 Ra มีเลขมวล Z= 88 และ A-Z = 226-88 = 138
88
ส่วนพร่องมวล = มวลอะตอมของไฮโดรเจน Z ตัว + มวลนิวตรอน (A-Z) ตัว
- มวลอะตอมของเรเดียน
หรือ ∆ = (88 + 138 ) −
= (88)(1.007825u) + (138)(1.008665u) − 226.025402u
= 1.858968
∆ เมื่อคิดเป็นพลังงานมีค่า
⁄
= (1.858968u)(931.5 MeV u)
= 1731.63MeV
แต่ 226 มีจ านวน 226 นิวคลีออน ดังนั้น พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนมีค่า
88
= 1731.63 MeV
226
= 7.66 MeV
ตอบ พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ 226 มีค่า 7.66 เมกะอิเล็กตรอนโวลน์
88