Page 26 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 26
6 เข ่อน : แหลงกักเก็บน้ำ สรางสมดุลช ว ต
เขื่อนปาสักชลสิทธิ์พัฒนาขึ้นเพื่อบริหารจัดการน้ำ
อยางมีประสิทธิภาพ เปนนายเหนือน้ำ ใหสามารถใช
ประโยชนจากน้ำไดตามตองการ ทั้งเปนแหลงตนทุนน้ำ
ชลประทานเพื่อการเกษตรกรรมในฤดูแลง ปองกัน
และบรรเทาอุทกภัยในบริเวณลุมน้ำปาสักและลุมน้ำ
เจาพระยาตอนลางในฤดูน้ำหลาก ตลอดจนเพื่อบรรเทา
ปญหาน้ำเนาเสียในเขตกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ
ในภาคกลาง
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 เสร็จพระราชดำเนินไปทรงเปดเขื่อน และไดพระราชทานชื่อ
อันเปนมงคลวา เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ อันหมายถึง เขื่อนกักเก็บน้ำที่มีประสิทธิภาพ
ผลสำเร็จของโครงการ
1. แกปญหาขาดแคลนน้ำอยางทั่วถึง และใชน้ำอยางมีประสิทธิภาพ ไดมีการพัฒนาระบบชลประทาน
เพื่อสงน้ำไปยังพื้นที่เกษตรกรรมรวม 174,500 ไร ดังตารางตอไปนี้
ระบบชลประทาน พื้นที่รับประโยชน (ไร)
โครงการสูบน้ำพัฒนานิคม 29,300
โครงการสูบน้ำแกงคอย – บานหมอ 86,700
โครงการสูบน้ำพัฒนานิคม – แกงคอย 28,500
โครงการจัดหาน้ำเพื่อการเกษตรใหพื้นที่ 3 อำเภอ 30,000
(สระโบสถ โคกสำโรง โคกเจริญ)
รวมพื้นที่เกษตรกรรมรับประโยชน 174,500
2. บรรเทาปญหาอุทกภัย ในบริเวณลุมน้ำปาสักและพื้นที่ลุมน้ำเจาพระยา เชน จังหวัดสระบุรี
พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ชวยลดความเสียหายดานเศรษฐกิจใหกับประเทศไทย
ไดอยางมหาศาล
3. เพื่อการอุปโภค – บริโภค และอุตสาหกรรม โดยใชผลิตน้ำประปาและน้ำใชในกิจการโรงงานอุตสาหกรรม
ในจังหวัดลพบุรีและสระบุรี
4. ฟนฟู – รักษาสมดุลของระบบนิเวศ จากการกักเก็บน้ำของเขื่อนปาสักชลสิทธิ์สงผลใหปริมาณน้ำใตดิน
บริเวณเขื่อนและพื้นที่ทายน้ำมีระดับสูงขึ้น
5. เปนแหลงเพาะพันธุปลาและแหลงประมงน้ำจืดขนาดใหญที่มีพันธุปลา 130 ชนิด ซึ่งพบมากขึ้นถึง
52 ชนิด จึงกลายเปนแหลงประมงที่สำคัญแหงใหมของประเทศ สรางอาชีพและรายไดใหกับราษฎรในพื้นท ี่
6. เปนแหลงทองเที่ยว ที่มีการสรางเสนทางเดินรถไฟพาดผานบริเวณเขื่อน อีกทั้งตลอดสองขางทาง
ถนนมุงสูเขื่อนมีการปลูกตนทานตะวันดึงดูดความสนใจนักทองเที่ยว
26 ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”