Page 31 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 31

ดำเนินการดังนี้
                        1. การผลิต (พันธุพืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) เกษตรกรจะตองรวมมือ
                  ในการผลิต โดยเริ่มตั้งแตขั้นเตรียมดิน การหาพันธุพืช ปุย การจัดการน้ำ และอื่น ๆ
                  เพื่อการเพาะปลูก

                                                2. การตลาด (ลานตากขาว ยุง เครื่องสีขาว การจำหนายผลผลิต)

                                           เมื่อมีผลผลิตแลวจะตองเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหไดประโยชนสูงสุด
                                           เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเครื่องสีขาว
                                           ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตใหไดราคาดี และลดคาใชจายลง

                        3. การเปนอยู (กะปน้ำปลา อาหาร เครื่องนุงหม ฯลฯ) ในขณะเดียวกัน

                  เกษตรกรตองมีความเปนอยูที่ดีพอสมควร โดยมีปจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต
                  เชน อาหารการกินตาง ๆ กะปน้ำปลา เสื้อผาที่พอเพียง


                                                                           ู
                                                4. สวัสดิการ (สาธารณสุข  เงนก)  แตละชุมชนมีสวัสดิภาพและบริการ
                                                                         ิ
                                           ที่จำเปน เชน มีสถานีอนามัยไวยามปวยไขหรือมีกองทุนไวกูยืมเพื่อประโยชน
                                           ในกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน



                        5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) ชุมชนควรมีบทบาทในการสงเสริม
                  เชน มีกองทุนเพื่อการศึกษาเลาเรียนใหแกเยาวชนของชุมชน


                                                6. สังคมและศาสนา (ชุมชน วัด) ชุมชนควรเปนที่รวมในการพัฒนาสังคม
                                           และจิตใจ โดยมีศาสนาเปนที่ยึดเหนี่ยว กิจกรรมทั้งหมดดังกลาวขางตนจะตอง
                                           ไดรับความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ ไมวาสวนราชการ องคกรเอกชน
                                           ตลอดจนสมาชิกชุมชนเปนสำคัญ

                  ทฤษฎีใหมขั้นที่สาม

                        “เมื่อดำเนินการขั้นตอนที่สองแลว เกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรก็ควรพัฒนา กาวหนาไปสูขั้นที่สามตอไป
                  คือ รวมมือกับแหลงเงินและแหลงพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการรานสหกรณ ชวยกันลงทุน ชวยกัน
                  พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนชนบท ซึ่งไมไดทำอาชีพเกษตรอยางเดียว”

                                                                            ี่
                                                         (พระราชดำรัส เมื่อวันท 13 กุมภาพันธ 2538)
















                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36