Page 32 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 32

7 ทฤษฎีใหม : การจัดการดินและน้ำ เพื่อการเกษตรอยางยั่งยืน



                        ทั้งนี้  ฝายเกษตรกรและฝายธนาคาร  หรือบริษัทเอกชนจะไดรับประโยชนรวมกัน  กลาวคือ  เกษตรกร
                  ขายขาวไดราคาสูง (ไมถูกกดราคา) ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อขาวบริโภคในราคาต่ำ (ซื้อขาวเปลือก
                  ตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคในราคาต่ำ เนื่องจากรวมกันซื้อเปนจำนวนมาก
                  (เปนรานสหกรณราคาขายสง) ธนาคารหรือบริษัทเอกชนจะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดำเนินการ
                  ในกิจกรรมตาง ๆ ใหเกิดผลดียิ่งขึ้น

                                        
                  ประโยชนทฤษฎีใหม
                        จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
                  รัชกาลที่ 9 ที่ไดพระราชทานในโอกาสตาง ๆ นั้น พอสรุปถึง
                  ประโยชนของทฤษฎีใหมไดดังนี้
                        1. ใหประชาชนพออยูพอกินสมควรแกอัตภาพในระดับ
                  ที่ประหยัดไมอดอยาก และเลี้ยงตนเองไดตามหลักปรัชญา
                  “เศรษฐกิจพอเพียง”
                        2. ในหนาแลงมีน้ำนอย ก็สามารถเอาน้ำที่เก็บไวในสระ
                                                          
                  มาปลูกพืชผัก เลี้ยงปลา หรือทำอะไรอื่น ๆ ก็ได แมแตขาวก็ยัง
                  ปลูกไดไมตองเบียดเบียนชลประทานระบบใหญ เพราะมีของ
                  ตนเอง
                        3. ในปที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยตลอดป ทฤษฎีใหมนี้
                  ก็สามารถสรางรายไดใหร่ำรวยขึ้นได ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็
                  สามารถที่จะฟนตัวและชวยตัวเองไดในระดับหนึ่ง โดยทาง
                  ราชการไมตองชวยเหลือมากเกินไป อันเปนการประหยัด
                  งบประมาณดวย

                  แปลงตัวอยางการทำเกษตรทฤษฎีใหม
                                                            
                        พื้นที่ของศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริอางเก็บน้ำหวยปุ  อยูบริเวณทายอางเก็บน้ำ
                  หวยปุตามแนวพระราชดำริบานเหลานกยูง  หมูที่ 6  ตำบล  ดงมะไฟ  อำเภอเมือง  จังหวัดสกลนคร  มีพื้นท  ี่
                                 
                  ดำเนินการ 20 ไร มีนายขวัญใจ แกวหาวงศ อายุ 60 ป จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 4 เปนหัวหนาศูนย
                  เรียนรู โดยมีแรงงานในครัวเรือน รวม 4 คน เดิมใชพื้นที่ในการเพาะปลูกขาวและใชน้ำจากบอขนาดเล็กในไรนา
                  เพาะปลูกพืชอายุสั้นในฤดูแลงในนาหลังจากเก็บเกี่ยวขาวแลว ตอมาในป พ.ศ. 2550 ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพาน
                  อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร ไดสนับสนุนขุดสระทฤษฎีใหมในไรนาให 1 แหง จึงทำการ
                  เพาะปลูกพืช เลี้ยงสัตว และประมง ตามแนวทฤษฎีใหม 
                        กิจกรรมที่ดำเนินการ
                        ปลูกขาวนาป 16 ไร                    เลี้ยงปลาในนาขาว 2 ไร
                                                                                       
                        ปลูกไมผลชนิดตาง ๆ 1 ไร 2 งาน        เลี้ยงปลาในกระชัง 4 กระชัง
                        ปลูกพืชไร 1 ไร                       เลี้ยงกบในกระชัง 3 กระชัง
                        ปลูกพืชผัก 2 งาน                       เลี้ยงไกดำภูพาน 40 ตัว

                        พาะเห็ดในโรงเรือน 1 โรง                เลี้ยงสุกรภูพาน 2 ตัว
                          เ
                        เลี้ยงโค 6 ตัว                         เลี้ยงเปดเทศ 30 ตัว
                        เลี้ยงปลา 1 บอ/1 ไร/6,000 ตัว        ปลูกออย 3 ไร

               32  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37