Page 33 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 33

วิธีดำเนินการ

                        จัดแบงพื้นที่ดำเนินการเปน 4 สวน ตามองคประกอบของทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดำริ แตปรับเปลี่ยน
                  สัดสวนของพื้นที่ตาง ๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่และแรงงาน ดังนี้
                                   ี่
                                       
                        สวนแรก พื้นท 1 ไร (5%) เปนแหลงน้ำและเลี้ยงปลา
                  ใชพื้นที่บอน้ำขนาดเล็กบอเดิม ซึ่งอยูใกลประตูระบายน้ำ
                  จากคลองสงน้ำของอางเก็บน้ำหวยปุขุดเปนบอทฤษฎีใหม
                  ขนาดกวาง 40  เมตร  ยาว 40  เมตร  ลึก 3.5  เมตร
                  มีความจุน้ำประมาณ 5,000  ลูกบาศกเมตร  ใชเก็บกักน้ำไว
                  สำหรับการเพาะปลูกพืชและทำการประมง สามารถรับการ
                  เติมน้ำจากอางเก็บน้ำแลวระบายลงสูแปลงเกษตรในพื้นที่ลุม

                               ั
                  ไดดวย บริเวณคนคูรอบสระน้ำใชเปนพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน
                                        ี่
                  ไดแก มะพราว ลำไย ลิ้นจ สมโอ มะมวง มะละกอ กลวย ฯลฯ และพืชผักตาง ๆ แซมระหวางแถวของไมผล
                  บริเวณขอบสระมีการปลูกหญาแฝกและขาตะไครปองกันการชะลางและพังทลายของดิน มีการเก็บเกี่ยวผลผลิต ขา
                  ตะไครไปจำหนายและตัดใบคลุมโคนไมผล สำหรับน้ำที่อยูในสระ มีการปลอยปลาเลี้ยงเพื่อการบริโภคและจำหนาย
                  จำพวกปลากินพืช  ไดแก  ปลานิล  ปลาไน  ปลาตะเพียน  ฯลฯ  ปละประมาณ 6,000  ตัว  มีรายไดจากการ
                  จำหนายปลาปละ 3,000 บาท และยังมีการทำกระชังเลี้ยงปลาดุกและกบอีก รวม 7 กระชัง พื้นที่มุมสระน้ำ
                  ดานหนึ่งไดจัดทำคอกสัตวปก สำหรับเลี้ยงเปดบาบารี 30 ตัว และไกดำภูพาน 40 ตัว มีรายไดจากการเลี้ยง

                  สัตวปกปละ 2,500 - 3,000 บาท นอกจากนี้ บนขอบสระมีคอกเลี้ยงสุกรดำพันธุภูพาน จำนวน 3 ตัว
                        สวนที่ 2  พื้นท 16  ไร (80%)  เปนพื้นที่ปลูกขาว
                                            
                                     ี่
                  ใชปลูกขาวนาปโดยอาศัยน้ำฝน  ถาประสบภาวะฝนแลงหรือ
                  ฝนทิ้งชวงสามารถทดน้ำจากสระทฤษฎีใหมลงสูแปลงนาได
                  พันธุขาวที่ปลูกใชขาวพันธุสงเสริม ไดแก พันธุ กข 6 และ
                  หอมมะลิ 105 มีการเพาะปลูกขาวตามหลักวิชาการทไดรับ
                                                              ี่
                  การถายทอดมาจากเจาหนาที่ของศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานฯ
                  ในการปลูกขาวโดยใชปุยพืชสดรวมกับปุยอินทรียและปุยเคมี
                  ในปหนึ่ง ๆ จะไดผลผลิตขาวประมาณ 5.6 ตัน เฉลี่ยผลผลิต

                  350 กก./ไร ไดคาตอบแทนจากการทำนาคิดเปนเงิน 56,000 บาท/ป ในระหวางการเพาะปลูกขาวในนา
                    
                                      
                  ไดใชพื้นที่นาจำนวน 2 ไร ปลอยปลาเลี้ยงในนาขาวเพื่อเปนอาหารและเพื่อจำหนาย เปนการลดตนทุนในการผลิต
                  และเพิ่มรายได อีกทั้งปลายังชวยเพิ่มธาตุอาหารใหตนขาวโดยการถายมูลและแหวกวายถายเทอากาศ กำจัด
                  วัชพืชและศัตรูพืชในนาขาวไดอีกดวย หลังจากมีการเก็บเกี่ยวขาวในฤดูนาปแลวจะไถกลบตอซังและเตรียมดิน
                  เพาะปลูกพืชอายุสั้นในนาขาว  ทำใหมีรายไดตอเนื่อง  เมื่อจะปลูกขาวในฤดูนาปครั้งตอไป  ก็จะหวานเมล็ดพืช
                  ตระกูลถั่วทำปุยพืชสด เพื่อปรับสภาพของดินและเพิ่มธาตุอาหารใหแกตนขาว
                                        
                        สวนที่ 3 พื้นท 2 ไร (10 %) เปนพื้นที่ปลูกพืชผสมผสาน
                                   ี่
                                          ี่
                                                                    
                        ไมผล - ไมยืนตน พื้นท 1.5 ไร เนื่องจากพื้นที่สวนใหญเปนที่ลุมใชปลูกพืชยืนตนไดนอย จึงไดปรับสัดสวน
                  การปลูกไมผล -  ไมยืนตน  ลดลงตามศักยภาพของพื้นที่  ดังนั้น  จึงมีการปลูกไมผล -  ไมยืนตน  บนคันคู
                  รอบสระน้ำ และปลูกบนคันนาโดยทำคันนาใหขยายใหญกวาปกติ ไมผล - ไมยืนตน ที่เพาะปลูกมีหลายชนิด
                                                                         
                  มีทั้งที่ใหผลผลิตแลวและยังไมใหผลผลิต ที่ใหผลผลิตแลวสวนใหญเปนกลวยน้ำวา ซึ่งจะมีรายไดจากการขาย
                  ผลผลิตไมผล - ไมยืนตน ปละประมาณ 2,000 บาท

                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  33
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38