Page 34 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 34

7 ทฤษฎีใหม : การจัดการดินและน้ำ เพื่อการเกษตรอยางยั่งยืน



                                                        ี่
                    พืชไร – พืชผัก และพืชอายุสั้นตาง ๆ พื้นท 0.5 ไร
               ดำเนินการเพาะปลูกพืชผักตาง ๆ เนื่องจากพื้นที่ดอนมีจำกัด
               จึงไดกันพื้นที่นาดอนไวประมาณ 0.5 ไร เพื่อปลูกแตงกวา
               ในปลายฤดูฝนเพราะผลผลิตมีราคาดี และเมื่อมีการเก็บเกี่ยว
               ขาวที่เพาะปลูกในนาทั้งหมดแลว จะใชพื้นที่นาจำนวน 2 ไร  

               เพาะปลูกพืชไรตาง ๆ ตามที่ตลาดตองการ สลับหมุนเวียน
               กันไปตลอดฤดูกาล ซึ่งการปลูกพืชหมุนเวียนเปนการหลีกเลี่ยง
               การระบาดของศัตรูพืชและทำใหพืชใชธาตุอาหารในดิน
               ไดคุมคา เพราะพืชแตละชนิดมีความยาวของรากไมเทากันจึงดูดซับธาตุอาหารในดินในระดับที่ตางกัน รายไดจาก
               การปลูกพืชไร-พืชผัก และพืชอายุสั้นตาง ๆ ปละ 75,000 บาท ในการปลูกพืชอายุสั้นในนาขาว จะใชวิธีขุด
                          
               รองน้ำเล็ก ๆ แลวสูบน้ำจากสระทฤษฎีใหมลงสูรองน้ำระบายเขาแปลงนาเพื่อใหน้ำแกพืช
                                 ี่
                    สวนที่ 4 พื้นท 1 ไร (5 %) ที่อยูอาศัยและอื่น ๆ เปนพื้นที่สรางบานและสิ่งปลูกสรางอื่น ๆ ไดแก
               คอกเลี้ยงสัตว  โรงปุยอินทรีย  ที่เก็บเครื่องมือการเกษตร  ที่เก็บอาหารสัตว  โรงเพาะเห็ด  รวมทั้งศาลาเรียนรู
               ที่สรางไวสำหรับเปนที่จัดประชุมและไวตอนรับผูที่มาศึกษาดูงาน นอกจากนี้ บริเวณรอบ ๆ ที่อยูอาศัยยังมีการ
               ปลูกพืชผักตาง ๆ และพืชสมุนไพรไวศึกษา และนำมาใชประโยชนในชีวิตประจำวัน













               สรุปการทำเกษตรทฤษฎีใหม “นายขวัญใจ แกวหาวงศ”
                                              
                    1. กำหนดการลงทุนและดำเนินการผลิตในแปลงเกษตรทฤษฎีใหมไมมากจนเกินกำลัง อาศัยแรงงาน

               ของคนในครอบครัวเปนหลัก
                    2. บริหารการใชจายในครอบครัว ไมฟุงเฟอ ฟุมเฟอย ทำการเกษตรแบบผสมผสาน โดยปลูกพืชและเลี้ยงสัตว
               หลายชนิดไดผลผลิตทุกฤดูกาล มีอาหารเพียงพอตอการบริโภค เลือกซื้อเฉพาะสินคาจำเปนที่ผลิตเองไมได 
                    3. จัดแบงพื้นที่ทำการเกษตรอยางมีเหตุผล ปรับยืดหยุนสัดสวนพื้นที่แปลงเกษตรทฤษฎีใหมใหสามารถ
                                                                                             
                                            ี่
               ใชประโยชนเต็มประสิทธิภาพทุกพื้นท ทำใหมีรายไดตอเนื่อง
                    4. มีการวางแผนการผลิตโดยคำนึงถึงศักยภาพของพื้นที่ การใชทรัพยากรที่มีอยู และชวงเวลาการ
               เพาะปลูกที่จะทำใหจำหนายผลผลิตไดในราคาดี
                    5. รูจักนำภูมิปญญามาประยุกตใชกับความรูใหม ๆ ที่ไดรับจากหนวยงานตาง ๆ เชน การปรับปรุงบำรุงดิน
               โดยทำปุยชีวภาพใชเอง และการใชฮอรโมนจากพืชทำสารขับไลแมลงศัตรูพืช ทำใหลดตนทุนในการผลิต เปนตน
                                                                                                  
                    6. เปนแปลงเกษตรทฤษฎีใหมที่ไดรับการคัดเลือกจากศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจาก
               พระราชดำริ จังหวัดสกลนคร จัดตั้งใหเปนศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ประจำอางเก็บน้ำ
               หวยปุ บานเหลานกยูง หมูที่ 6 ตำบลดงมะไฟ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร






               34  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39