Page 27 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 27

7  ทฤษฎีใหม : การจัดการดินและน้ำ


                         เพื่อการเกษตรอยางยั่งยืน



                                    ปญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปจจุบันที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนน้ำ
                               เพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตพื้นที่อาศัยน้ำฝนซึ่งเปนพื้นที่สวนใหญของประเทศ
                               ที่อยูในเขตที่มีฝนคอนขางนอยและสวนมากเปนนาขาวและพืชไร เกษตรกรยังคงทำการ
                               เพาะปลูกไดปละครั้งในชวงฤดูฝนเทานั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจาก
                               ความแปรปรวนของดิน ฟา อากาศ และฝนทิ้งชวง แมวาจะมีการขุดบอหรือสระเก็บน้ำ
                               ไวใชบาง แตก็ไมมีขนาดแนนอนหรือมีปจจัยอื่น ๆ ที่เปนปญหาใหมีน้ำใชไมเพียงพอ

                               รวมทั้งระบบการปลูกพืชไมมีหลักเกณฑใด ๆ และสวนใหญปลูกพืชชนิดเดียว
                                    ดวยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 จึงไดพระราชทานพระราชดำริ
                               เพื่อเปนการชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำบากดังกลาวใหสามารถผานพน
                               ชวงเวลาวิกฤติ โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำไดโดยไมเดือดรอนและยากลำบากนัก พระราชดำรินี้
                               ทรงเรียกวา “ทฤษฎีใหม” อันเปนแนวทางหรือหลักการในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำ
                               เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กใหเกิดประโยชนสูงสุด




                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  27
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32