Page 13 - แบบฝึกทักษะเรื่องการสร้างคำแบบสมาส
P. 13

13



                                        ใบความรู้ เรื่อง การสร้างค าแบบสมาส



                       กำรสร้ำงค ำแบบสมำส เป็นกำรสร้ำงค ำจำกภำษำบำลี สันสกฤต ซึ่งไทยรับภำษำบำลีเข้ำมำจำก

                                                                    ิ
               พระพุทธศำสนำ รับภำษำสันสกฤตเข้ำมำจำกศำสนำพรำหมณ์ ฮนดู และไทยก็รับวิธีกำรสร้ำงค ำเข้ำมำใช้ด้วย
               กำรสมำสเป็นกำรน ำศัพท์ตั้งแต่ 2 ศัพท์ขึ้นไปมำต่อกันเป็นศัพท์เดียว
                       กำรสร้ำงค ำแบบสมำส แบ่งออกเป็น 2  ชนิด ตำมลักษณะกำรกลมกลืนเสียงระหว่ำงศัพท์ 2  ศัพท์ที่

               น ำมำรวมกัน ได้แก ค ำสมำส ( ไม่มีกำรกลมกลืนเสียง ) และ ค ำสมำสแบบมีสนธิ ( มีกำรกลมกลืนเสียง )
                               ่
               1.ค าสมาส

                       ค าสมาส หมำยถึง กำรน ำค ำในภำษำบำลีและสันสกฤต ตั้งแต่ 2 ค ำขึ้นไป มำเรียงต่อเข้ำเป็นค ำเดียว

               โดยไม่มีกำรกลมกลืนเสียง หรือเปลี่ยนแปลงรูปค ำ

               ตัวอย่างค าสมาส
                       กำยกรรม              กิตติคณ               กิจจลักษณะ           กุลบุตร
                                                 ุ
                       คณิตศำสตร์           คุณธรรม               ชลมำรค               เทพธิดำ

                หลักการสร้างค าสมาส
               1.ค ำที่น ำมำสมำสกันต้องเป็นภำษำบำลีและสันสกฤตเท่ำนั้น เช่น


                      ถำวรวัตถุ     มำจำก          ถำวร [ บำลี ] ( มั่นคง , ยั่งยืน ) +  วัตถุ [ บำลี ] ( สิ่งของ )

                                    อ่ำนว่ำ        ถำ – วอน – วัด – ถุ
                                                           ่
                                    หมำยถึง        สิ่งของที่กอสร้ำงที่มั่นคง ยั่งยืน เช่น โบสถ์ วิหำร เป็นต้น
                        รำชฐำน      มำจำก          รำช [ บำลี ] ( พระเจ้ำแผ่นดิน ) +  ฐำน [ บำลี ] ( ที่อยู่)

                                    อ่ำนว่ำ        รำด – ชะ – ถำน
                                    หมำยถึง        ที่อยู่ของพระเจ้ำแผ่นดิน



                      หัตถกรรม      มำจำก          …………….. [ ………………. ] ( ……………… ) +
                                                   …………………. [ ……………………… ] ( ………………………… )

                                    อ่ำนว่ำ        ……………………………………………….

                                    หมำยถึง        …………………………………………………………………………


               หมายเหตุ : ค ำบำงค ำทคล้ำยกับค ำสมำส แต่ไม่ได้มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทั้งหมด จะไม่นับเป็นค าสมาส
                                   ี่
               ค ำเหล่ำนี้จะเป็นค าประสม   เช่น

                              ผลไม้  = ผล ( บำลี ) + ไม้ ( ไทย )    เทพเจ้ำ  =  เทพ ( บำลี ) + เจ้ำ ( ไทย )

                              กลเม็ด = กล ( บำลี ) + เม็ด ( ไทย )   พระขนง = พระ ( บำลี ) + ขนง ( เขมร )
                              พระเจ้ำ = พระ ( บำลี ) + เจ้ำ ( ไทย )   พลเรือน = พล ( บำลี ) + เรือน ( ไทย )
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18