Page 16 - แบบฝึกทักษะเรื่องการสร้างคำแบบสมาส
P. 16

16




               ประเภทของการสนธิ   กำรสร้ำงค ำสมำสแบบมีสนธิ สำมำรถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ขึ้นอยู่กับว่ำ ต ำแหน่งที่

               สนธิ(เชื่อม) คือต ำแหน่งไหน  ซึ่งได้แก่ สระสนธิ  พยัญชนะสนธิ และนฤคหิตสนธิ

               2.1 สระสนธิ  คือ      ค ำบำลี สันสกฤต 2 ค ำ ที่น ำมำกลมกลืนเสียงกันระหว่ำงพยำงค์หลังของค ำหน้ำ
               ที่ลงท้ำยด้วยเสียงสระ   และพยำงค์หน้ำของค ำหลังที่ขึ้นต้นด้วยเสียงสระ   หลักกำรของสระสนธิ มีดังต่อไปนี้

                       1.ตัดเสียงสระพยางค์ท้ายของค าหน้า ใช้เสียงสระพยางค์หน้าของค าหลัง เช่น

                       วร + โอกำส  =  วโรกำส  ( อะ + โอ = โอ ) พุทธ + โอวำท  =  พุทโธวำท  ( อะ + โอ = โอ )
                       มหำ + อัศจรรย์ = มหัศจรรย์ ( อำ + อะ = อะ )   ภุช + องค์ = ภุชงค์ ( อะ +  โอะ = โอะ )

                       จินตน + อำกำร = จินตนำกำร ( อะ + อำ =  อำ )  ประชำ + อำกร = ประชำกร ( อำ +  อำ = อำ )
                       ศิลป + อำกร =  …………………………………………..  ทรัพย + อำกร = …………………………………………

                       โกสี + อินทร์ = ………………………………………            มัคค + อุเทศก์ = …………………………………………
                       ภัตต + อำคำร =…………………………………………..  ศักดิ + อำนุภำพ =……………………………………



                       2. ตัดเสียงสระพยางค์ท้ายของค าหน้า ใช้เสียงสระพยางค์หน้าของค าหลัง แต่เปลี่ยนเสียงสระ
                                                                ู
               หน้าของค าหลัง   จาก อะ เป็น อา, อิ เป็น เอ , อุ เป็น อ หรือ โอ เสียก่อน


                       เปลี่ยน อะ เป็น อา เช่น
                       รำช + อธิรำช  (อะ+อะ) (  ตัด อะ แรก ใช้ อะหลัง แต่เปลี่ยน อะ เป็น อำ สนธิเป็น รำชำธิรำช )

                       ประชำ + อธิปไตย = ประชำธิปไตย       ธรรม + อธิปไตย = ธรรมำธิปไตย

                       เทศ + อภิบำล = เทศำภิบำล            ทูต + อนุทูต = ทูตำนุทูต
                       รำช + อนุสรณ์ = ……………………….          เทศ + อภิรมย์ = ……………………….

                       เปลี่ยน อิ เป็น เอ  เช่น
                       รำม + อิศวร (อะ+อิ) ( ตัด อะ แรก ใช้ อิหลัง แต่เปลี่ยน อิ เป็น เอ สนธิเป็น รำเมศวร )

                       ปรม + อินทร์ = ปรเมนทร์             นร + อิศวร = นเรศวร

                       นร + อินทร์ = นเรนทร์               มหำ + อิสี = มเหสี
                       คช + อินทร์ = ……………………………           นำค + อินทร์ = ………………………………….

                       เปลี่ยน อุ เป็น อู  หรือ  โอ  เช่น
                       รำช + อุปโภค (อะ + อุ)  (  ตัด อะ แรก ใช้อุหลัง  แต่เปลี่ยน อุ เป็น อู สนธิเป็น รำชูปโภค  )

                       รำช + อุบำย  (อะ + อุ)    (  ตัด อะ แรก ใช้อุหลัง  แต่เปลี่ยน อุ เป็น โอ สนธิเป็น รำโชบำย )

                       นย + อุบำย = นโยบำย                 รำช + อุทิศ = รำชูทิศ
                       สำธำรณ + อุปโภค = สำธำรณูปโภค       นร + อุดม = นโรดม

                       รำช + อุปถัมภ์ = ……………………….         ชล + อุทร = …………………………….
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21