Page 18 - แบบฝึกทักษะเรื่องการสร้างคำแบบสมาส
P. 18

18




               2.2 พยัญชนะสนธิ       คือ    ค ำบำลี สันสกฤต 2 ค ำ ที่น ำมำกลมกลืนเสียงกันระหว่ำงเสียงพยัญชนะ

               ท้ำยของค ำหน้ำ กับเสียงพยัญชนะต้นของค ำหลัง   หลักกำรของพยัญชนะสนธิ มีดังต่อไปนี้

                       1. ขึ้นต้นว่า ทุส หรือ นิส เปลี่ยน สฺ เป็น  ร
               ตัวอย่าง                                                                     หลักการจ ากฎพยัญชนะ

                       นิสฺ + มล = นิร + มล = นิรมล        ทุสฺ + พิษ = ทร + พิษ = ทรพิษ    สนธิ มี ๒ ข้อ

                       นิสฺ  + มิต = นิร + มิต = นิรมิต,เนรมิต  ทุสฺ + พล = ทุร + พล = ทุรพล,ทรพล   ๑.ค าแรก ทุสฺ / นิสฺ  ให้
                       2.ลงท้าย ด้วย สฺ เปลี่ยน สฺ เป็น โ                                   เปลี่ยน สฺ เป็น ร แล้วจึง

                       มนสฺ + ภำว = มโน + ภำว = มโนภำพ     ยสฺส + ธร = ยโส + ธร = ยโสธร     เชื่อมกับค าหลัง
                       มนสฺ + มย = มโน + มย = มโนมัย       เตชสฺ + ชย = เตโช + ชย = เดโชชัย   ๒.ค าแรกไม่ใช่ ทุสฺ/นิสฺ
                                                                                            ให้เปลี่ยน สฺ เป็น โ- แล้ว
                                                                          ์
               2.3 นฤคหิตสนธิ        คือ กำรเชื่อมเสียงค ำที่มีนฤคหิตหรือมีพยำงคท้ำยเป็นนฤคหิต กับค ำอื่นๆ มี
               หลักกำรดังนี้                                                                จึงเชื่อมกับค าหลัง

                       1.นฤคหิตสนธิกับสระ  ให้เปลี่ยนนฤคหิต เป็น  ม  แล้วจึงสนธิ

                       ส  + อิทธิ = สมิทธิ                 ส  + อำคม = สมำคม
                       ส  + ฤทธิ = สัมฤทธิ์                ส  + อำทำน = สมำทำน

                       2.นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ให้เปลี่ยนนฤคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ำยของวรรคนั้น แล้วจึงสนธิ

                       ส  + กร = สังกร                     ส  + ญำ = สัญญำ         หลักการจ า
                       ส  + จร = สัญจร                     ส  + ผัส = สัมผัส     นฤคหิต + สระ = ม

                       3.นฤคหิตสนธิกับเศษวรรค ให้เปลี่ยนนฤคหิตเป็น ง แล้วจึงสนธิ   นฤคหิต + พยัญชนะวรรค = พยัญชนะตัว

                       ส  + หำร = สังหำร                   ส  + วร = สังวร       สุดท้ำยของวรรคนั้น
                       ส  + สรรค์ = สังสรรค์               ส  + หรณ์ = สังหรณ์   นฤคหิต + เศษวรรค = ง


                                                 ………………………………………..
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23