Page 14 - แบบฝึกทักษะเรื่องการสร้างคำแบบสมาส
P. 14
14
2.ค ำสมำสจะต้องอ่ำนออกเสียงต่อเนื่องกันและส่วนมำกจะแปลควำมหมำยจำกข้างหลังไปข้างหน้า เช่น
ค าสมาส เกิดจาก ค าอ่าน ความหมาย
เทพบุตร เทพ ( เทวดำ ) + บุตร ( ลูกชำย, ผู้ชำย ) เทบ – พะ – บุด ผู้ชำยที่เป็นเทพ , เทวดำผู้ชำย
ิ
อุทกภัย อุทก ( น้ ำ ) + ภัย ( อันตรำย ) อุ – ทก – กะ – ไพ ภัยอันตรำยที่เกดจำกน้ ำ
ทันตแพทย์ ทันต ( ฟัน ) + แพทย์ ( ผู้รักษำ , หมอ ) ทัน – ตะ – แพด หมอรักษำโรคทำงฟัน
อัคคีภัย อัคคี ( ไฟ ) + ภัย ( อันตรำย ) อัก – คี – ไพ ภัยที่เกิดจำกไฟ
วีรบุรุษ วีร ( กล้ำหำญ ) + บุรุษ ( ผู้ชำย ) วี – ระ – บุ – หรุด ผู้ชำยที่มีควำมกล้ำหำญ
ยุทธภูมิ
แต่ก็มีค ำสมำสบำงค ำที่ควำมหมำยของค ำทั้งสองค ำเท่ำกน เช่น รำชโอรส,บุตรภรรยำ เป็นต้น
ั
3.พยำงค์ท้ำยของค ำหน้ำต้องไม่ใส่รูปสระ อะ และไม่ใส่ตัวกำรันต์ เช่น
ศิลปะ + ศึกษำ = ศิลปศึกษำ พละ + ศึกษำ = พลศึกษำ
กำละ + เทศะ = กำลเทศะ อักขระ + วิธี = อักขรวิธี
อิสระ + ภำพ = อิสรภำพ สำระ + คดี = สำรคดี
แพทย์ + ศำสตร์ = แพทยศำสตร์ มนุษย์ + ธรรม = มนุษยธรรม
4.ค ำบำลีหรือสันสกฤตที่มีค ำว่ำ พระ ซึ่งแผลงมำจำก วร ( เลิศ,ประเสริฐ) ประกอบข้ำงหน้ำ
เป็นค ำสมำสด้วย เช่น พระบิดำ พระหัตถ์ พระมำลำ พระกร พระชงฆ์ พระทัย พระธิดำ พระองค์ แต่
ื
ถ้ำค ำว่ำ พระ นั้น เป็นค ำบรรดำศักดิ์ หรือประสมกับค ำภำษำอื่น ไม่ถอเป็นค ำสมำส เช่น พระสุวรรณวำจก
พระเขนย เป็นต้น
5.ค ำบำลี สันสกฤตที่ลงท้ำยด้วยค ำต่อไปนี้ จะเป็นค ำสมำส ได้แก่ ค ำว่ำ
กรรม การ คติ ธรรม บดี ภัย ภาพ ภัณฑ์ ศาสตร์ ศิลป์ สถาน ศึกษา กร วิทยา เช่น
กรรม : วิศวกรรม สถำปัตยกรรม จิตรกรรม ศิลปกรรม หัตถกรรม พำณิชยกรรม
ศาสตร์ : วิทยำศำสตร์ ประวัติศำสตร์ ภูมิศำสตร์ ธรรมศำสตร์ ศิลปศำสตร์ อักษรศำสตร์
ภาพ : ชีวภำพ เอกัตภำพ สุนทรียภำพ มิตรภำพ
ศิลป์ : วรรณศิลป์ นำฏศิลป์ วิจิตรศิลป์ วำทศิลป์
วิทยา: ชีววิทยำ จิตวิทยำ ธรรมชำติวิทยำ
ศึกษา : สังคมศกษำ จริยศึกษำ ธรรมศึกษำ อำชีวศึกษำ
ึ
การ : กิจกำร พำณิชยกำร
ภัณฑ์ : พิพิธภัณฑ์ ครุภัณฑ์
คดี : วรรณคดี อรรถคดี
ธรรม : คุณธรรม วัฒนธรรม