Page 15 - แบบฝึกทักษะเรื่องการสร้างคำแบบสมาส
P. 15
15
หลักการอ่านออกเสียงค าสมาส
1.ออกเสียงพยำงค์เชื่อมระหว่ำงค ำ เช่น เกียรติคุณ ( เกียด – ติ – คุน ) , กำฬโรค ( กำ – ละ – โรก )เป็นต้น
2. ไม่ออกเสียงพยำงค์เชื่อมระหว่ำงค ำ เช่น จิตพิสัย ( จิด – พิ – ไส ) , ภำพลักษณ์ ( พำบ – ลัก ) ,
นิเทศศำสตร์ ( นิ – เทด – สำด ) เป็นต้น
3. จะออกเสียงพยำงค์เชื่อมระหว่ำงค ำหรือไม่ออกเสียงก็ได้ เช่น ดุลยพินิจ ( ดุน – ยะ – พิ – นิด หรือ
ดุน – ละ – ยะ – พิ – นิด ) , เกียรติประวัติ ( เกียด – ประ – หวัด หรือ เกียด – ติ – ประ – หวัด ) เป็นต้น
ตัวอย่างค าสมาส
ปิยมหำรำช มหำชน เอกชน วีรสตรี สำรคดี ภำพยนตร์
สุนทรพจน์ พุทธศำสนำ อักษรศำสตร์ วิศวกรรมศำสตร์ ธนบัตร
เศรษฐศำสตร์ ชนมพรรษำ คณบดี ไตรปิฎก เทพบุตร
เทพธิดำ เทศบำล ทันตแพทย์ ธรรมชำติ ธรรมศำสตร์
นำยกรัฐมนตรี นิติศำสตร์ เบญจเพส ปฐมพยำบำล ประวัติศำสตร์
ไปรษณียบัตร พรหมลิขิต พุทธศักรำช มำฆบูชำ
วรรณคดี วัฒนธรรม รัตนโกสินทร์ วิทยำศำสตร์ สังฆรำช อภิชำตบุตร
2.ค าสมาสแบบมีสนธิ
ี
้
ค าสมาสแบบมสนธิ หมำยถึง กำรน ำค ำในภำษำบำลีและสันสกฤต ตั้งแต่ 2 ค ำขึ้นไป มำเรียงต่อเขำ
เป็นค ำเดียว โดยมีกำรกลมกลืนเสียงให้เป็นเสียงเดียวกัน แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ สระสนธิ นฤคหิตสนธิ และ
พยัญชนะสนธิ
ตัวอย่าง
ปรม ( อย่ำงยิ่ง ) + อณู ( ละเอียด ) ( สันสกฤต + บำลี )
= ปรมำณู ( สิ่งที่ละเอียดอย่ำงยิ่ง ละเอียดที่สุด )
รำชำ ( พระเจ้ำแผ่นดิน ) + อุปโภค ( เอำมำใช้ให้เกิดประโยชน์ ) ( บำลี/สันสกฤต + บำลี/สันสกฤต )
= รำชูปโภค ( ของใช้ส ำหรับพระรำชำ)
ศิระ ( หัว, ยอด ) + อำภรณ์ ( เครื่องประดับ ) ( สันสกฤต + บำลี/สันสกฤต )
= ศิรำภรณ์ (เครื่องประดับศีรษะ)
รำชำ (พระรำชำ) + โอวำท (ค ำสอน) (………………………………+………………………..)
=………………………………………………………..
ตัวอย่างค าสมาสแบบมีสนธิ
รำโชวำท รำชำนุสรณ์ คมนำคม สมำคม จุลินทรีย์ ธนำคำร
สังคม มหัศจรรย์ วโรดม กุศโลบำย ชลำลัย นเรศวร
รโหฐำน