Page 26 - แผนพัฒนา กศน.
P. 26

(1.2) ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสงผล ตอคุณภาพและ

               มาตรฐานการศึกษามีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน สถานศึกษาขนาดเล็ก/สถานศึกษาที่ตองการความชวยเหลือและพัฒนา
               เปนพิเศษอยางเรงดวน ที่ไมผานเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกลดลง คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทาง

               การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของผูเรียนที่เรียน ในกลุมสถานศึกษาที่เขาสูระบบการบริหารจัดการแนวใหมสูงขึ้น

               เปนตน
                              (1.3) ทุกภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการของ

               ประชาชนและพื้นที่มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน จํานวนองคกรสมาคมมูลนิธิหรือหนวยงานอื่นที่เขามาจัดการศึกษาหรือ
               รวมมือกับสถานศึกษาทั้งของรัฐเอกชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพิ่มขึ้น และสัดสวนการมีสวนรวมสนับสนุน

               การศึกษาของภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคีเครือขายเมื่อเทียบกับรัฐจําแนกตามระดับการศึกษาสูงขึ้น

                              (1.4) กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่แตกตาง
               กันของผูเรียน สถานศึกษา และความตองการกําลังแรงงานของประเทศ มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน มีกฎหมาย

               กฎระเบียบและระบบการจัดสรรเงินเพื่อการศึกษาที่เอื้อและสนองตอบคุณลักษณะที่แตกตางกันของผูเรียน ความ
               ตองการกําลังแรงงาน และสภาพปญหาที่แทจริงของประเทศ มีรูปแบบ/แนวทางกลไกการจัดสรรงบประมาณผาน

               ดานอุปสงคและอุปทานในสัดสวนที่เหมาะสม เปนตน

                              (1.5) ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มีความเปนธรรม สราง
               ขวัญกําลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานไดอยางเต็มตามศักยภาพ มีตัวชี้วัดที่สําคัญ เชน สถานศึกษาที่มีครูเพียงพอ

               ตอการจัดการเรียนการสอนเพิ่มขึ้นครู/ผูทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน/ผูประกอบการที่ปฏิบัติงานสนับสนุนการเรียน

               การสอนเพิ่มขึ้น และสถานศึกษามีบุคลากรทางการศึกษาทําหนาที่ปฏิบัติงานสนับสนุนการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
               เปนตน โดยกําหนดแนวทางการพัฒนา คือ ปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการศึกษา

                              (2) แนวทางการพัฒนา
                              เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัด

               การศึกษา ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษา พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของครูอาจารย

               และบุคลากรทางการศึกษา และมีแผนงานและโครงการสําคัญ เชน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
               โรงเรียนขนาดเล็ก โครงการพัฒนาระบบจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษา และโครงการทดลองนํารองระบบ

               การจัดสรรเงินผานดานอุปสงคและอุปทาน เปนตน
               1.11 ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค

                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 ไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค

               (Area) ไวในประเด็นยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ที่เกี่ยวของ

               กลาวคือ ยุทธศาสตรที่ 2 : ดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ ยุทธศาสตรที่ 3 : ดานการ
               พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน ยุทธศาสตรที่ 4 : ดานการแกไขปญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ําและ




                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               21
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31