Page 215 - Bright Spot 2563
P. 215
3. การใช้รูปแบบการเยี่ยมเสริมพลังโดยกระบวนกร ในรูปแบบของ Internal survey สร้างสุข
ในหน่วยงานย่อยของเครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า : ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ขั้น ดังต่อไปนี้
1) ขั้นวางแผน (Plan) ทีมแกนน าสร้างสุขวางแผน ออกแบบ การน ารูปแบบการใช้รูปแบบ
การเยี่ยมเสริมพลังโดยกระบวนกร ในรูปแบบของ Internal survey สร้างสุขในหน่วยงานย่อยออกแบบ
แนวค าถามนัดแบ่งทีมกระบวนกรย่อยอยู่ 5 กลุ่ม กลุ่มละ 3 - 4 คน รับผิดชอบกลุ่มละ 3 หน่วยงานย่อย
2) ขั้นการปฏิบัติ (Action) น ารูปแบบรูปแบบกระการเยี่ยมเสริมพลังโดยกระบวนกร
ในรูปแบบของ Internal survey สร้างสุขในหน่วยงานย่อย โดยกระบวนกรกับกลุ่มเป้าหมายนัด
หมายกันเอง
3) ขั้นการสังเกตและรวบรวมข้อมูล (Observation) กระบวนกรสรุปรายงานผล
การรูปแบบการเยี่ยมเสริมพลังโดยกระบวนกร ในรูปแบบของ Internal survey สร้างสุขในหน่วยงาน
ุ
ย่อยสังเกตการณ์ปฏิบัติข้อดี ข้อจ ากัดปัญหาอปสรรคและปฏิกิริยาของผู้เกี่ยวข้องน าเสนอ
ทีมกลาง
ื่
้
4) ขั้นสะทอนข้อมูล (Reflection) คืนข้อมูลแก่ผู้เกี่ยวข้องและผู้บริหารเพอหาข้อสรุป
การปรับปรุงวิธีการด าเนินโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของบุคลากร
ั
4. การประเมินผลลัพธ์การพฒนาองค์กรสร้างสุขโดยเครื่องมือ Benchmarking สร้างสุข :
ผลลัพธ์ของการด าเนินงานขับเคลื่อนโครงการโรงพยาบาลสร้างสุข หรือเครือข่ายสร้างสุข
โดยเครื่องมือ Benchmarking ซึ่งเป็นการออกแบบร่วมกันของ Core team มีรูปแบบการประเมิน
ออกเป็น 7 ด้านออกแบบวิธีการให้คะแนนตามระดับความสามารถขององค์กรในทั้ง 7 ด้าน
ั
ซึ่งล้วนแต่มีความเชื่อมโยงสัมพนธ์กัน สรุปออกมาเป็นระดับของการพฒนาการด าเนินงานสร้างสุข
ั
ของหน่วยงาน พบว่าคะแนนเฉลี่ยขององค์กรเครือข่ายสร้างสุข Cup ปางมะผ้า คะแนนเฉลี่ย
อยู่ในระดับ 3 - 4.5 เป็นคะแนนที่อยู่ระดับดี
201