Page 213 - Bright Spot 2563
P. 213

ปี พ.ศ. 2561

                    1. การอบรมบริการสร้างสุขที่เป็นเลิศของบุคลากรเครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า :
                                              ึ
                                                                                           ั
                                                                                    ื่
              บุคลากร ร้อยละ 90 มีระดับความพงพอใจมากถึงมากที่สุด และข้อเสนอแนะเพอการพฒนา
              ความต้องการให้จัดกิจกรรมต่อเนื่อง
                    2. การใช้นวัตกรรมแบบประเมิน RTH  (  Road  to  Happiness  )  ในการติดตามผลการ
              ด าเนินงานเครือข่ายสร้างสุข ของเครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า : เป็นการประเมินผลลัพธ์ของ

              การด าเนินงานขับเคลื่อนโครงการโรงพยาบาลสร้างสุข หรือเครือข่ายสร้างสุข โดยเครื่องมือ
              Benchmarking  ซึ่งเป็นการออกแบบร่วมกันของ Core  team หรือ แกนน าโครงการสร้างสุข

              ของทั้งสามเครือข่ายคือ เครือข่ายโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า เครือข่ายโรงพยาบาล
              ท่าสองยางและเครือข่ายโรงพยาบาลปางมะผ้า โดยจะมีรูปแบบการประเมินออกเป็น 7 ด้าน
              ออกแบบวิธีการให้คะแนนตามระดับความสามารถขององค์กรในทั้ง 7 ด้าน ซึ่งล้วนแต่มีความ

                                                          ั
              เชื่อมโยงสัมพนธ์กัน สรุปออกเป็นระดับของการพฒนาการด าเนินงานสร้างสุขของหน่วยงาน
                          ั
              หมวดที่ 1 การน าองค์กร หมวดที่ 2 แผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ หมวด 3 การเสาะหา
              สารสนเทศและการประเมินสถานการณ์บุคลากร หมวดที่ 4 การวัดและการพฒนานวัตกรรม
                                                                                  ั
              หมวดที่ 5 การสร้างและพฒนาคณะกรรมการสร้างสุข (Core Team) หมวดที่ 6 การบริหารจัดการ
                                   ั
              องค์กรสร้างสุข หมวดที่ 7 ผลลัพธ์ โดยมีขั้นตอน ดังนี้

                         1) ขั้นวางแผน (Plan) ทีมแกนน าสร้างสุขวางแผนการสร้างแบบประเมิน RTH
              ปรับปรุงมาจากแบบประเมินแนวโน้มพฤติการณ์แห่งสุขขององค์กร ของ ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญและ

              จากแนวคิดโครงการโรงพยาบาลสร้างสุข (2559) และออกแบบน ารูปแบบการประชุมแบบ
              มีส่วนร่วมมาใช้ในองค์กร
                         2) ขั้นการปฏิบัติ (Action) น ารูปแบบการประเมินตนเองไปเผยแพร่ให้บุคลากร

              ตอบแบบประเมินตนเองส่งให้แกนน าสร้างประมวลผล
                         3) ขั้นการสังเกตและรวบรวมข้อมูล (Observation) สังเกตการณ์ปฏิบัติ ข้อดี

                                                                         ุ
              คือท าให้บุคลากรทราบจุดเน้นขององค์กรสร้างสุข ข้อจ ากัด ปัญหาอปสรรคคือค าถามดูยากไป
              ส าหรับผู้ปฏิบัติที่เป็นระดับล่าง
                                                                ื่
                         4) ขั้นสะท้อนข้อมูล (Reflection) คืนข้อมูลเพอหาข้อสรุปการปรับปรุงวิธีการหรือ
              แนวทางน าไปใช้ต่อเนื่องหรือขยายลงสู่องค์กรย่อยต่อไป




















                                                                                           199
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218