Page 210 - Bright Spot 2563
P. 210

ปี พ.ศ. 2558

                    1. การอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับกระบวนทัศน์ บุคลากรเครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า
              สู่เครือข่ายสร้างสุข : การจัดกิจกรรมดังกล่าวมีผู้เข้าร่วมอบรม คิดเป็นร้อยละ 84 ของบุคลากร

              เครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า โดยแบ่งจัดอบรมเป็น 3 รุ่น รุ่นละ 1 วัน พบว่าผู้เข้ารับการอบรม
              ได้เรียนรู้เห็นคุณค่าของตนเองและเห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน โดยน าความรู้ความสามารถ
                                                ิ่
              ของทุกคนมาเสริมพลังให้เกิดคุณค่าเพมขึ้น การท าบทบาทหน้าที่ของตนเองในที่ท างานตนเอง
                                                    ั
              ต้องวิเคราะห์ความสามารถของตนเอง และพฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการสร้างความส าเร็จ
              ในองค์กรร่วมกัน นั่นคือ ทุกคนเป็นบุคคลส าคัญที่จะมีส่วนร่วมในความส าเร็จขององค์กร มีประเด็นหลัก

                          ้
              ที่ทุกคนเห็นพองต้องกันว่าเป็นปัจจัยส าคัญในการขับเคลื่อนโครงการโรงพยาบาลสร้างสุขนี้
              ให้ประสบความส าเร็จคือการสื่อสารที่ทั่วถึง การมีส่วนร่วมในกระบวนการ การท างานเป็นทีม
              และการให้บริการ การเสียสละในบางโอกาสเพอให้งานเคลื่อนต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                                        ื่
              การมีสติในการท างานสติจะเป็นตัวคอยควบคุมการท างานต่าง ๆ ให้ได้ผลและไม่เกิดความผิดพลาด
              เสียหาย และยิ่งไปกว่านั้น “สติ เป็นตัวที่ก่อให้เกิดปัญญาในการท างาน”

                    2. การน ารูปแบบการประชุมแบบมีส่วนร่วม (Participation conference) มาใช้ในองค์กร
              เครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า : ซึ่งแบ่งตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) ขั้นวางแผน (Plan) ทีมแกนน า
              สร้างสุข วางแผนการน ารูปแบบการประชุมแบบมีส่วนร่วมซึ่งศึกษาจากรูปแบบจากการประชุม

              แบบมีส่วนร่วมของ เสมศิขาลัย มาศึกษาและออกแบบการใช้ในองค์กรออกมาเป็นรูปแบบ
              ที่มีขนตอนแบบของเสมศิขาลัย 2) ขั้นการปฏิบัติ (Action) น ารูปแบบการประชุมแบบมีส่วนร่วมมา
                  ั้
              ใช้ในองค์กร โดยใช้แกนน าเป็นต้นแบบ โดยขั้นตอนจะเริ่มต้นด้วย นั่งสมาธิแบบสั้น มีขั้นตอนการ
              check in หรือ Before action review ตั้งกติกาการประชุมและสนทนาลดการใช้อปกรณ์รบกวน
                                                                                     ุ
                  ั
              ให้ฟงเมื่อมีผู้พด ไม่พดแทรก แสดงความคิดเห็นแบบสร้างสรรค์ และใช้กระบวนกรในการน าสนทนา
                          ู
                                ู
              เน้นการพดให้กระชับจับประเด็นและไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในการสนทนา เมื่อจบ
                       ู
              การประชุมให้มีการพูดแสดงความคิดเห็น After action review 3) ขั้นการสังเกตและรวบรวมข้อมูล
              (Observation) สังเกตการปฏิบัติ พบว่าให้ผลดีในการประชุมขนาดใหญ่ขององค์กร ข้อดีคือ
              การประชุมกระชับขึ้น บรรยากาศดีขึ้นไม่พบข้อขัดแย้งในขณะการประชุม ข้อจ ากัด ปัญหาอปสรรค
                                                                                          ุ
              คือต้องใช้กระบวนกรเป็นตัวช่วยด าเนินการประชุม ซึ่งกระบวนกรที่มีอยู่อย่างจ ากัด ไม่สามารถไป

              ช่วยได้ในทุกการประชุม และปฏิกิริยาของผู้เกี่ยวข้องส่วนใหญ่พึงพอใจต่อบรรยากาศของการประชุม
              และพบว่าการประชุมมีประสิทธิภาพสูงขึ้น น าไปสู่ข้อตกลงได้เร็วขึ้น และ 4) ขั้นสะท้อนข้อมูล

              (Reflection) การสะท้อนกลับที่ดีคือในขั้นตอนของการ AAR ที่จะช่วยให้ทั้งกระบวนกรและผู้เข้า
              ประชุมรับทราบข้อติดขัดของตน น าสู่การปรับปรุงตัวเองในล าดับต่อไปได้ ควรมีการส่งเสริมให้ใช้
              รูปแบบของการประชุมแบบมีส่วนร่วมในหน่วยงานย่อยที่เล็กลงในระดับฝ่ายหรือแผนกได้











                                                                                           196
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215